กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง ”

ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางพิทยา ทุ่ยอ้น

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง

ที่อยู่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1542-66-2-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2566 ถึง 18 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1542-66-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2566 - 18 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายที่ส่งผลสุขภาพที่ดี กาเดินถือเป็นการออกกำลังกายที่สามารถทำได้ง่าย ไม่ยุ่งยากและไม่ทำให้ร่างกายเหนื่อยล้าจนเกินไป แค่เดินอย่างต่อเนื่องเพียงวันละ 30 นาที อย่างน้อย 4-5 วันต่อสัปดาห์เท่านั้น เหมาะสำหรับผู้ที่มีน้ำหนักมาก ผู้สูงอายุ ผู้ที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย แต่หากไม่สามารถเดินติดต่อกันได้นาน 30 นาที อาจแบ่งช่วง ๆละ 10-15 นาที แล้วค่อยๆเพิ่มเวลาให้นานขึ้น ซึ่งการออกกำลังกายด้วยการเดินควรเริ่มดังนี้ 1.ควรเดินในอัตราเร็วที่ทำให้เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็วขึ้นกว่าปกติ ชีพตรเต้นเร็ว แต่ไม่ถึงกับหอบหรือหายใจไม่ทัน 2.ไม่ควรเดินอย่างหักโหม 3.ไม่ต้องพยายามเดินเร็วเท่าคนอื่น เนื่องจากสภ่าพร่างกายและความแข็งแรงของแต่ละคนไม่เหมือนกัร 4.ท่าเดิน ไม่ควรก้าวยาวจนเกินไป ควรก้าวสั้นๆแต่ถี่ๆ 5.แกว่งแขนตามธรรมชาติไม่ก้มหรือเงยหน้า 6.สวมรองเท้าที่เหมาะแก่การเดิน สวมใส่สบาย กระชับกับขนาดของเท้า และช่วยลดแรงกระแทกและการบาดเจ็บที่อาจเป็นอันตรายต่อข้อเท้า 7.ก่อนและหลังการเดิน ควรอบอุ่นร่างกายและยืดกล้ามเนื้อเพื่อช่วยลดอาการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการออกกำลังกาย 8.พกเครื่องนับจำนวนก้าว (pedometer) ติดตัวขณะเดินออกกำลังกาย จำนวนก้าวที่แนะนำคือ 10,000 ก้าว ขึ้นไปจะส่งผลดีต่อร่างกาย การเดิน 12,000-15,000 ก้าว จะช่วยเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นและช่วยในเรื่องการควบคุมน้ำหนัก แม้ว่าการเดินเพื่อออกกำลังกายจะง่าย สะดวก และปลอดภัยก็ตาม แต่ก็ไม่เหมาะสมสำหรับผู้ที่มีปัญหาข้อเท้าและหัวเข่า เนื่องจากการเดินมากๆ จะทำให้ข้อและเข่าเกิดอาการเจ็บปวดได้จำนวนก้าวเดินที่เหมาะสม ของคนแต่ละช่วงวัย เพราะเงื่อนไขสุขภาพและช่วงวัยของแต่ละคนแตกต่างกัน วิธีการเดินเพื่อสุขภาพของคนแต่ละคนจึงแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 3 ช่วง ดังนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนให้มีระบบเผาผลาญไขมันในร่างกายได้ดีมากขึ้น 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้รับความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง 3.เพื่อร่วมส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.คนในชุมชนห้มีระบบเผาผลาญไขมันในร่างกายได้ดีมากขึ้นจากการออกกำลังกาย 2.ได้ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายในชุมชน 3.ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ความสามารถนำไปปรับใช้กับตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนให้มีระบบเผาผลาญไขมันในร่างกายได้ดีมากขึ้น 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้รับความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง 3.เพื่อร่วมส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนให้มีระบบเผาผลาญไขมันในร่างกายได้ดีมากขึ้น 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้รับความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง 3.เพื่อร่วมส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่ง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ L1542-66-2-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพิทยา ทุ่ยอ้น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด