โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมารียะห์ สะแต
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2514-1-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2514-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วงอายุ 5 ปี เป็นช่วงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมากจึงเป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง และปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดขึ้นเองตามวัยแต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่น พันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครองควรทำในชีวิตประจำวันของเด็กรวมถึงการติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยและงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรค ซึ่งปัจจุบันวัคซีนที่ใช้ในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคส่วนใหญ่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง ๕ ปี เช่นเดียวกันที่จะต้องได้รับวัคซีนให้ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข
จากผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบว่า มีผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ 0-5 ปี ร้อยละ 48.89 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 90.00 ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุมเนื่องจากผู้ปกครองบางรายปฏิเสธรับวัคซีนตามเกณฑ์หรือทัศนคติผู้ปกครองบางรายมองในแง่ลบ และเด็กบางรายอาจแยกกันอยู่กับบิดา/มารดา ซึ่งทำงานต่างจังหวัดจึงอาศัยอยู่กับตาหรือยายที่ไม่สามารถนำพาเด็กมารับวัคซีนตามเกณฑ์ได้ และ กังวลว่าเด็กจะมีไข้หลังได้รับวัคซีน และมีเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ พัฒนาการไม่สมวัยและมีปัญหาฟันผุ โดยพบอัตราเด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนคิดเป็นร้อยละ๔๔.๖๔ ซึ่งน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 และอัตราการตรวจพัฒนาการเด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน พบเด็กมีพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 34.62 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิ เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของหนูน้อย จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีขึ้น เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพและส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพดี รูปร่างสมส่วนและได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตลอดจนมีพัฒนาการที่ดีส่งผลให้เด็กเติบโตอย่างมีความสุขและมีคุณภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี
- เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย
- เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30และ 42 เดือน
- เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมแกนนำสุขภาพและภาคีเครือข่ายสุขภาพ
- อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องการได้รับวัคซีนในเด็กในเด็ก 0-5 ปี/การดูแลสุขภาพช่องปากและภาวะโภชนาการพัฒนาการ
- จัดเวทีอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม. และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมากขึ้น
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ความสำคัญในการพาบุตรหลานไปรับบริการฉีดวัคซีนตรงตามนัดทุกครั้ง
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น
4.เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการที่สมวัยทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม
5.เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ครบชุดตามเกณฑ์
90.00
2
เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
70.00
3
เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30และ 42 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการ
95.00
4
เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี (2) เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย (3) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30และ 42 เดือน (4) เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมแกนนำสุขภาพและภาคีเครือข่ายสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องการได้รับวัคซีนในเด็กในเด็ก 0-5 ปี/การดูแลสุขภาพช่องปากและภาวะโภชนาการพัฒนาการ (3) จัดเวทีอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2514-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมารียะห์ สะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมารียะห์ สะแต
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2514-1-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2514-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วงอายุ 5 ปี เป็นช่วงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมากจึงเป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง และปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดขึ้นเองตามวัยแต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่น พันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครองควรทำในชีวิตประจำวันของเด็กรวมถึงการติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยและงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรค ซึ่งปัจจุบันวัคซีนที่ใช้ในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคส่วนใหญ่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง ๕ ปี เช่นเดียวกันที่จะต้องได้รับวัคซีนให้ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข จากผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบว่า มีผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ 0-5 ปี ร้อยละ 48.89 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 90.00 ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุมเนื่องจากผู้ปกครองบางรายปฏิเสธรับวัคซีนตามเกณฑ์หรือทัศนคติผู้ปกครองบางรายมองในแง่ลบ และเด็กบางรายอาจแยกกันอยู่กับบิดา/มารดา ซึ่งทำงานต่างจังหวัดจึงอาศัยอยู่กับตาหรือยายที่ไม่สามารถนำพาเด็กมารับวัคซีนตามเกณฑ์ได้ และ กังวลว่าเด็กจะมีไข้หลังได้รับวัคซีน และมีเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ พัฒนาการไม่สมวัยและมีปัญหาฟันผุ โดยพบอัตราเด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนคิดเป็นร้อยละ๔๔.๖๔ ซึ่งน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 และอัตราการตรวจพัฒนาการเด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน พบเด็กมีพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 34.62 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิ เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของหนูน้อย จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีขึ้น เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพและส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพดี รูปร่างสมส่วนและได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตลอดจนมีพัฒนาการที่ดีส่งผลให้เด็กเติบโตอย่างมีความสุขและมีคุณภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี
- เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย
- เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30และ 42 เดือน
- เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมแกนนำสุขภาพและภาคีเครือข่ายสุขภาพ
- อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องการได้รับวัคซีนในเด็กในเด็ก 0-5 ปี/การดูแลสุขภาพช่องปากและภาวะโภชนาการพัฒนาการ
- จัดเวทีอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม. และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมากขึ้น
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ความสำคัญในการพาบุตรหลานไปรับบริการฉีดวัคซีนตรงตามนัดทุกครั้ง
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น 4.เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการที่สมวัยทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม 5.เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ครบชุดตามเกณฑ์ |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน |
70.00 |
|
||
3 | เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30และ 42 เดือน ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการ |
95.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี (2) เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย (3) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30และ 42 เดือน (4) เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมแกนนำสุขภาพและภาคีเครือข่ายสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องการได้รับวัคซีนในเด็กในเด็ก 0-5 ปี/การดูแลสุขภาพช่องปากและภาวะโภชนาการพัฒนาการ (3) จัดเวทีอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2514-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมารียะห์ สะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......