กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮารีดา ยีมะยี




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2514-1-14 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2514-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเร่งรัดระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่นๆปัจจุบันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ถือเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขอย่างหนึ่งที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะทีมงานสาธารณสุขร่วมกับภาคประชาชน และกลุ่มแกนนำต่างๆต้องร่วมกันดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลจากอุบัติการณ์ ของโรคไม่ติดต่อหรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรม โดยเฉพาะการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ซึ่งต้องได้รับการควบคุม เพราะถ้าหากปล่อยให้โรคดังกล่าวเรื้อรังอยู่นานๆโดยไม่ได้รับการรักษามักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ โรค ไต ตา เท้า หลอดเลือดสมอง เป็นต้น จะเกิดขึ้นรุนแรง หรือรวดเร็วเพียงใดขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะของโรค
บ้านพงยือติ หมู่ที่ 9 ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ มีจำนวนประชากร 491 คน จำนวน 108 หลังคาเรือน มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อายุ 35 ปี ขึ้นไป 187 ราย ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 172 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.98 คัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 172 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.98 พบว่ามีประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 41 ราย และประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานจำนวน 9 ราย มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 25 ราย โรคความดันโลหิสูง จำนวน19 รายโรคเบาหวานจำนวน๖ ราย ทั้งนี้เกิดจากผู้ป่วยมีการดูแลสุขภาพของตนเองทั้งด้านการบริโภค การออกกำลังกาย การจัดการด้านอารมณ์และการรับประทานยายังไม่เหมาะสมและถูกต้องอันเนื่องมาจากขาดความต่อเนื่องการติดตามและการดูแลของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ตลอดจนขาดการส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดการพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมหนึ่งในการที่จะกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมดังนั้นการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไข้ปัญหาสุขภาพของชุมชนเอง เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะเสริมสร้างให้ชุมชนมีศักยภาพและมีความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยในชุมชน จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ร่วมกับภาคีเครือข่าย แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา คณะกรรมการมัสยิด อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตัวแทนกลุ่มต่างๆ จากภาคประชาชน จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชน ครอบครัวและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมและสามารถเป็นแบบบอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้หมู่บ้าน และชุมชนอื่นๆต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อนได้
  3. มีหมู่บ้านตนแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานด้วยวิถีมุสลิม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 75
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อน 3..มีหมู่บ้านตนแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานด้วยวิถีมุสลิม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อน
50.00

 

3 มีหมู่บ้านตนแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานด้วยวิถีมุสลิม
ตัวชี้วัด : มีหมู่บ้านตนแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานด้วยวิถีมุสลิม อย่างน้อย 1 หมู่บ้าน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 75
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อนได้ (3) มีหมู่บ้านตนแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานด้วยวิถีมุสลิม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) จัดเวทีแลกเปลี่ยนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พิชิตความดันเบาหวาน ด้วยวิถีมุสลิม บ้านพงยือติ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2514-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮารีดา ยีมะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด