กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ”

คำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายชัชวาล เรืองเดช

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖

ที่อยู่ คำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3318-01-01-4 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน คำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ " ดำเนินการในพื้นที่ คำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3318-01-01-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,603.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง เช่น พฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการแสดงในระยะแรก และผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อมีอาการ หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคกับระบบต่างๆของร่างกายแล้ว จึงทำให้ได้รับการรักษาช้าเกินไปพยาธิสภาพและภาวะแทรกซ้อนของโรคก่อให้เกิดการสูญเสียต่อสุขภาพ เกิดความพิการ และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลต่อทรัพยากรบุคล สังคม และเศรษฐกิจการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมาย และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในยะยะยาวได้
จังหวัดพัทลุงสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 60,117 คน คิดเป็นอัตราป่วย 951.02 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 6๓,๓๖๘ คน คิดเป็นอัตราป่วย 95๕.๖๘ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 64,039 คน คิดเป็นอัตราป่วย 935.46ต่อแสนประชากรตามลำดับและสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 25,804 คนคิดเป็นอัตราป่วย 852.86ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 2๗,3๕๑ คนคิดเป็นอัตราป่วย 8๖๑.๘8 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 28,456 คน
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของโครงการ) โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง เช่น พฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการแสดงในระยะแรก และผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อมีอาการ หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคกับระบบต่างๆของร่างกายแล้ว จึงทำให้ได้รับการรักษาช้าเกินไปพยาธิสภาพและภาวะแทรกซ้อนของโรคก่อให้เกิดการสูญเสียต่อสุขภาพ เกิดความพิการ และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลต่อทรัพยากรบุคล สังคม และเศรษฐกิจการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมาย และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในยะยะยาวได้
จังหวัดพัทลุงสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 60,117 คน คิดเป็นอัตราป่วย 951.02 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 6๓,๓๖๘ คน คิดเป็นอัตราป่วย 95๕.๖๘ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 64,039 คน คิดเป็นอัตราป่วย 935.46ต่อแสนประชากรตามลำดับและสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 25,804 คนคิดเป็นอัตราป่วย 852.86ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 2๗,3๕๑ คนคิดเป็นอัตราป่วย 8๖๑.๘8 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 28,456 คน คิดเป็นอัตราป่วย 85๕.53ต่อแสนประชากรตามลำดับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพตำบลโตนดด้วนมีจำนวนสถิติและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงย้อนหลังปีพ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย 828 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,377.31 ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๔ มีจำนวนผู้ป่วย ๘๔๙ คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,3๓๙.๗๙ ต่อแสนประชากรปีพ.ศ.256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 838 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,308.57 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และจำนวนสถิติอัตราป่วยด้วนโรคเบาหวานย้อนหลังปีพ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย 388 คน คิดเป็นอัตรา 1,503.64 ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๔ มีจำนวนผู้ป่วย ๔๐๕ คน คิดเป็นอัตรา 1,๔๘๐.๗๕ ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๕ มีจำนวนผู้ป่วย ๔๐6 คน คิดเป็นอัตรา 1,๔26.๗6 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถิติดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน และการติดตามน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ของประชาชนก็มีความสำคัญในการประเมินและคัดกรองเบื้องต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพตำบลโตนดด้วนมีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน ๑๑ หมู่บ้าน มีเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว(DTX)จำนวน 6 เครื่องซึ่งไม่เพียงพอ ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก เพื่อประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวานของประชากรดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ลดการสูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและการควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนให้มีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค 3อ.2ส.และการดูแลสุขภาพในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. 2.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. 3.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรอง
  4. 4.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรอง
  5. 5.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. 6.เพื่อติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP)
  7. 7.เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  8. 8.. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 2,๖59 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 2,๒39 คน
  2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรค จำนวน 1 รุ่น ๆละ จำนวน 5๐ คน
  3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 1 รุ่น ๆละ จำนวน ๓๐ คน
  4. กิจกรรมเจาะ FBSกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl )หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 360 คน
  5. กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP)
  6. กิจกรรมประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน ๒28 คน
  7. กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางผุ้ป่วยเบาหวานปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน 36 คน ผู้จัดโครงการ 3 คน รวม 39 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จำนวนประชากรเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
90.00 93.00

 

2 2.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 2.เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
90.00 93.00

 

3 3.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส จำนวน1 กลุ่ม จำนวน 50 คน
6.00 7.00

 

4 4.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส จำนวน1 กลุ่ม จำนวน 30 คน
0.00 8.00

 

5 5.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 5.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 50
40.00 50.00

 

6 6.เพื่อติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP)
ตัวชี้วัด : 6.กลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP) ร้อยละ 90
30.00 35.00

 

7 7.เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 7.กลุ่มป่วยได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 60
40.00 50.00

 

8 8.. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : 8.ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ ร้อยละ 95
90.00 93.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) 2.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) 3.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรอง (4) 4.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรอง (5) 5.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน  (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (6) 6.เพื่อติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP) (7) 7.เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (8) 8..  เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป  กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 2,๖59 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 2,๒39 คน (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ  3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรค จำนวน 1  รุ่น ๆละ  จำนวน 5๐ คน (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ  3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 1  รุ่น ๆละ  จำนวน  ๓๐ คน (4) กิจกรรมเจาะ FBSกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน  (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl )หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน  360  คน (5) กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP) (6) กิจกรรมประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน  ๒28  คน (7) กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางผุ้ป่วยเบาหวานปฏิบัติ  ผู้ป่วยเบาหวาน  36  คน ผู้จัดโครงการ  3 คน รวม 39  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3318-01-01-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัชวาล เรืองเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด