กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด


“ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ ”

ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุทัยวรรณ แก้วมณี

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ

ที่อยู่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5226-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5226-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินชีวิตด้วยความพอเพียง ตามแนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นปรัชญาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงการรู้จักพึ่งตนเอง ความพอประมาณ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ การวางรากฐานการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นกะบทุกคนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนควรปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในสถานศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในเรื่องอาหารที่มีประโยชน์ สะอาด และปลอดภัย การปลูกพืชผักปลอดสารพิษในสถานศึกษา ทำให้นักเรียนได้บริโภคพืชผักที่ไม่มีสารพิษตกค้าง   ผัก คือ หนึ่งในอาหารหลัก 5 หมู่ ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายให้วิตามินและเกลือแร่ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและรักษาสมดุลของร่างกายมีใยอาหารที่ช่วยย่อยและขับถ่ายโดยเฉพาะผักสด แต่เนื่องจากผักที่นำมาบริโภคส่วนใหญ่ซื้อมาจากตลาด ซึ่งผักเหล่านี้มักจะมีสารพิษตกค้างอยู่ ถ้าหากล้างไมีสะอาดก็จะทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเด็กและผู้บริโภคได้จากที่มีประโยชน์ก็จะกลายเป็นโทษต่อร่างกายทันที ในปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารพืชผักที่ต้องซื้อจากท้องตลาดซึ่งอาจจะมีการปนเปื้อนจากสารพิษ ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและเกิดโรคชนิดต่าง ๆ ได้ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลระโนดเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ   โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลระโนด จึงได้จัดโครงการปลูกผักปลอดสารพิษขึ้น เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเองได้ใช้กล้ามเนื้อมักเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ นำผักไปประกอบอาหารกลางวัน ทำให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ด้านอารมณ์ จิตใจ เพื่อให้นักเรียนมีความสนุกสนานที่ได้ลงมือปลูกผักด้วยตนเอง ด้านสังคม นักเรียนได้ช่วยกันปลูกผักเกิดความสามัคคี และรู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ด้านสติปัญญา นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ เกิดการเรียนรู้ เห็นการเปลี่ยนแปลง จากการสังเกต การเจริญเติบโตของผัก ทำให้นักเรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของการรับประทานผัก
  2. ข้อที่ 2 เพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่เด็กปฐมวัยเด็ก และได้เรียนรู้ถึงการเจริญเติบโตของผัก ลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค
  3. ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียงให้กับนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ การสาธิตการปลูกผัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 165
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของผักปลอดสารพิษแต่ละชนิด
  2. นักเรียนรู้จักวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง
  3. นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียง รู้จักการเรียนรู้ทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพืชผักที่ตนเองปลูก และได้เรียนรู้ถึงลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของการรับประทานผัก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของผักปลอดสารพิษ

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่เด็กปฐมวัยเด็ก และได้เรียนรู้ถึงการเจริญเติบโตของผัก ลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและได้เรียนรู้ถึงการเจริญเติบโตของผัก ลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียงให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 85 โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลระโนด มีแหล่งเรียนรู้วิถึชีวิตพอเพียงเหมาะแก่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 165
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 165 173
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของการรับประทานผัก (2) ข้อที่ 2 เพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษให้แก่เด็กปฐมวัยเด็ก และได้เรียนรู้ถึงการเจริญเติบโตของผัก ลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค (3) ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียงให้กับนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ การสาธิตการปลูกผัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5226-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอุทัยวรรณ แก้วมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด