กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสนีซา บินเตะ




ชื่อโครงการ สตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2475-1-07 เลขที่ข้อตกลง 26-2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"สตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " สตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2475-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายด้วยโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งเต้านมเป็นมะเงที่พบมากเป็นอันดับหนึ่ง โรคมะเร็งปากมดลูกพบเป็นอันดับสองของมะเร็งในสตรี จะพบมากในกลุ่มอายุประมาณ 30- 50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจ มะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก และราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจคันหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้น องค์การอนามัยโลกได้ประมาณอัตราการเพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น 2 เท่าของปัจจุบัน รายงานสถิติสาธารณสุขของศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขอัตราตายด้วยมะเร็งทุกชนิดสูงขึ้นตลอดโดยเฉพาะมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่เป็นอันดับ 1 และมะเร็งปากมดลูกเป็นอันดับ 2 ในผู้หญิง ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเชลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะ เริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์ชื่อเร้ะ ได้มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 669 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในปี 2565 จำนวน 225 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.63 ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดนราธิวาส สำหรับในปีงบประมาณ 2566 ต้องคัดกรองกลุ่มเป้าหมายเพิ่มให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดนราธิวาส ร้อยละ 20 ยังมีกลุ่มที่ยังไม่เข้ารับการตรวจ Pap Smear ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่ยากต่อการติดตาม และเข้ารับบริการเนื่องจาก ผู้รับบริการยังขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูก ยังมีทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับการตรวจด้วย pap smear และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองในกลุ่มอายุ 30-70 ปี จำนวน 833 ราย ได้รับการคัดกรองจำนวน 753 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.40 ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด แต่ยังคงต้องเฝ้าระวังและคัดกรองมะเร็งเต้านมทุกๆ ปี โดยการให้ อสม. ติดตามอย่างต่อเนื่อง ต้องให้ความรู้แก่ อสม. และผู้รับบริการเนื่องจากยังขาดความ ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งเต้านม ดังนั้นโรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร้ชื่อเรีะ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2566 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเงปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแบบยังยืนต่อไป จังหวัดนราธิวาส จะต้องได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20 เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจะต้องมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและได้รับการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้มาคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์ชื่อเระ จึงได้บูรณการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก จัดทำโครงการสตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ในตำบลช้างเผือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ให้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างเผือกขึ้น เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว อันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ ระยะแรกได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและสตรีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้านม
  2. 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก โดยกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจหาความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยัน การเกิดโรค
  4. 4. เพื่อให้ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก และได้รับการส่งต่อ ตามแผนการรักษาได้ ทันท่วงที
  5. 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับการดูแลติดตามเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์
  6. 6. เพื่อให้สตรีที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่มมีโอกาสรักษาให้หายขาด และเพื่อลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โคงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลข้างเผือก ปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30 -60 ในพื้นที่มีควรามรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงอัตรายของ โรคมะเรงปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30 - 60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดรองมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อและรักษาทุกราย (ร้อยละ ๑๐๐)
  3. อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมายและสามารถนำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างครอบคลุม
  4. ผู้ป่วยมะเร็วปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก สามารถเข้าถึงการรักษาได้อน่างเร็วและลดอัตราการตายได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและสตรีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก โดยกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจหาความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยัน การเกิดโรค
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อให้ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก และได้รับการส่งต่อ ตามแผนการรักษาได้ ทันท่วงที
ตัวชี้วัด :

 

5 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับการดูแลติดตามเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :

 

6 6. เพื่อให้สตรีที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่มมีโอกาสรักษาให้หายขาด และเพื่อลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและสตรีกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้านม (2) 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก โดยกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20 (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจหาความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยัน การเกิดโรค (4) 4. เพื่อให้ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก และได้รับการส่งต่อ ตามแผนการรักษาได้ ทันท่วงที (5) 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับการดูแลติดตามเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ (6) 6. เพื่อให้สตรีที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่มมีโอกาสรักษาให้หายขาด และเพื่อลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โคงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลข้างเผือก ปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก หมู่ที่ 3,5,6 และ 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2475-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัสนีซา บินเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด