กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา


“ โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซูรา บือราเเฮง

ชื่อโครงการ โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3005-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3005-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงาน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ไปสู่ “ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus (พลัส) สู่ 2,500 วัน” ตำบลที่มีการดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทยเติบโตเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล สอดคล้องนโยบายรัฐบาลขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 – 2570 คือ เด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน เต็มตามศักยภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมระดมทรัพยากรที่เพียงพอ ทั้งนี้ในช่วง 1,000 วันมหัศจรรย์เป็นช่วงสำคัญ เป็นจุดเริ่มต้นของชีวิต ในการปูพื้นฐานของชีวิตคนไทยสู่อนาคตที่ดี ให้เด็กไทยฉลาด พัฒนาการสมวัย สูงสมส่วน แบ่งเป็น 3 ช่วงที่ 1. 270 วันแรกระหว่างการตั้งครรภ์ เป็นช่วงเวลาสำคัญของการสร้างเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด เด็กได้รับสารอาหารที่เพียงพอและหลากหลาย เสริมธาตุไอโอดีน เหล็ก โฟลิก ช่วงที่ 2. 180 วัน แรกเกิด-6เดือน เป็นช่วงที่ร่างกายและสมองของเด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การได้รับนมแม่ตั้งแต่ชั่วโมงแรงของชีวิต การโอบกอดและเล่นกับลูกส่งผลให้ลูกเจริญเติบโตดี มีพัฒนาการทางด้านร่างกายและอารมณ์ดี ช่วงที่ 3. 550 วัน อายุ 6 เดือน-2 ปี เน้นการเป็นเด็กฉลาด มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ทำด้วยการให้อาหารที่เหมาะสมตามวัย ควบคู่การดื่มนมแม่ให้นานที่สุด ส่งเสริมครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็ง ด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน และลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเจริญเติบโต จะทำให้ทารกพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุดมีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุขมีการพัฒนาคลินิกฝากครรภ์(ANC) คุณภาพ ในหญิงตั้งครรภ์ ดูแลการคลอด ปลอดภัยทั้งแม่และทารก พัฒนาคลินิกเด็กสุขภาพดีเด็ก(WCC) คุณภาพ ได้รับการเลี้ยงดูตามวัย เป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 14 ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 เด็กอายุ 0-5 ปีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วนตามวัย ร้อยละ 66 เด็กมีภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ10 เด็กมีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 9 และมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 )เด็กมีพัฒนาการสมวัย ไอคิว อีคิว ดี ทำให้เด็กเติบโดเป็นคนที่มีคุณภาพ เก่งดี มีสุข งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและภาวะโภชนาการในเด็ก0-5ปี เป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนพึ่งได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน และที่สำคัญผู้ปกครองของเด็ก0-5ปี จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและภาวะโภชนาการในเด็ก พัฒนาการของเด็ก และภาวะซีดในเด็ก จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าเด็ก0-5ปี จำนวน 698 คน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ตามกลุ่มอายุ1ปี ร้อยละ88.57 อายุ2ปี ร้อยละ79.66 อายุ3ปี ร้อยละ90.04 อายุ5ปี ร้อยละ89.17 (ปีงบประมาณ2566) และการดำเนินงานโภชนการเด็ก0-5ปี จำนวน 670 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโดยการชั่งน้ำหนัก จำนวน 616คน คิดเป็นร้อยละ91.94พบว่าอัตราเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ5.67 และเด็กค่อนข้างน้อย จำนวน18คน คิดเป็นร้อยละ2.92 (ปีงบประมาณ2566)และการดำเนินงานพัฒนาสมวัยตามกลุ่มอายุ 9 เดือน 18เดือน 30เดือน 42เดือน 60เดือน จำนวน 569คน ได้รับการตรวจพัฒนาการ จำนวน534คน คิดเป็นร้อยละ93.85 พบว่าเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 488คน คิดเป็นร้อยละ85.76 และเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน46คน คิดเป้นร้อยละ8.61 (ปีงบประมาณ2566) และได้คัดกรองภาวะซีดในเด็ก6เดือนถึง5ปี จำนวน 84คน พบว่ามีเด็กมีภาวะซีดจำนวน 17คน คิดเป็นร้อยละ20.2 ซึ่งยังไม่บรรลุตามเกณฑ์ตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข คือความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐาน อย่างน้อยละ90 และภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ต้องมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ5 และพัฒนาการสมวัยไม่เกินร้อยละ90 และพัฒนาการสงสัยล่าช้า ต้องพบสงสัยล่ามากกว่าร้อยละ20 และเด็กที่มีภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ20 และได้รับการจ่ายยาเสริมธาตุเหล็กร้อยละ100 ซึ่งจะเห็นว่าทั้งการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและภาวะโภชนาการในเด็ก0-5ปี พัฒนาการเด็ก และภาวะซีดในเด็ก0-5ปี ของพื้นที่ก็ยังเป็นปัญหาซึ่งจะต้องได้รับการแก้ไขต่อไป จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และเด็กไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็ก0-5ปี และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก และภาวะซีดในเด็ก 0-5ปี
  2. เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีภาวะโภชนาการดี
  3. เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีพัฒนาการสมวัย
  4. เพื่อให้เด็ก6เดือน-1ปี ไม่มีภาวะซีดในเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานวัคซีนเชิงรุก เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ พัฒนาการสงสัยล่าช้า เด็กที่มีภาวะซีดเพื่อขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567 แก่เจ้าหน้าที่และอสม. จำนวน 66 คน
  2. กิจกรรมที่ 3 การเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการ ทั้ง4ไตรมาส(เดือนตุลาคม/เดือนมกราคม/เดือนเมษายน/เดือนกรกฎาคม) และตรวจพัฒนาการเด็ก(9เดือน/18เดือน/30เดือน/42เดือน/60เดือน) และการรับวัคซีนตามเกณฑ์อายุในเด็กอายุครบ1ปี/2ปี/3ปี/5ปีในปีงบประมาณ2566และการคัดกรองภาวะซ
  3. กิจกรรมที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี แบ่งเป็น4รุ่นตามหัวข้อดังนี้
  4. กิจกรรมที่ 4 จัดนิทรรศการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี จำนวน 90 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 691
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็ก0-5ปี และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก และภาวะซีดในเด็ก 2.เด็ก0-5ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐาน มีภาวะโภชนการที่ดี และมีพัฒนาการสมวัยทั้ง5ด้าน (ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม) 3.ภาคีเครือข่าย มีความพร้อมในการผลักดันโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน
4.เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็ก0-5ปี และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก และภาวะซีดในเด็ก 0-5ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็ก0-5ปี และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก และภาวะซีดในเด็ก 0-5ปี ร้อยละ80
5.00 1.00

 

2 เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีภาวะโภชนาการดี
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีภาวะโภชนาการดี มีน้ำหนักน้อยและไม่เกินร้อยละ5
5.00 1.00

 

3 เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ80 และได้รับการส่งต่อ ร้อยละ100
4.00 1.00

 

4 เพื่อให้เด็ก6เดือน-1ปี ไม่มีภาวะซีดในเด็ก
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็ก6เดือน-1ปี ที่มีภาวะซีดในเด็ก ไม่เกินร้อยละ20 และได้รับการจ่ายยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ100
4.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 691
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 691
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการตรวจพัฒนาการในเด็ก0-5ปี และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก และภาวะซีดในเด็ก 0-5ปี (2) เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีภาวะโภชนาการดี (3) เพื่อให้เด็ก0-5ปี ได้มีพัฒนาการสมวัย (4) เพื่อให้เด็ก6เดือน-1ปี ไม่มีภาวะซีดในเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานวัคซีนเชิงรุก เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ พัฒนาการสงสัยล่าช้า เด็กที่มีภาวะซีดเพื่อขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567  แก่เจ้าหน้าที่และอสม. จำนวน 66 คน (2) กิจกรรมที่ 3 การเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการ ทั้ง4ไตรมาส(เดือนตุลาคม/เดือนมกราคม/เดือนเมษายน/เดือนกรกฎาคม) และตรวจพัฒนาการเด็ก(9เดือน/18เดือน/30เดือน/42เดือน/60เดือน) และการรับวัคซีนตามเกณฑ์อายุในเด็กอายุครบ1ปี/2ปี/3ปี/5ปีในปีงบประมาณ2566และการคัดกรองภาวะซ (3) กิจกรรมที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี แบ่งเป็น4รุ่นตามหัวข้อดังนี้ (4) กิจกรรมที่ 4 จัดนิทรรศการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี จำนวน 90 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รับวัคซีนตามเกณฑ์ และไม่มีภาวะซีด ในเด็ก0-5ปี สู่ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่2,500วัน ปี2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3005-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซูรา บือราเเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด