กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคฉี่หนูและการปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน - พื้นที่รับผิดชอบศูนย์บริการสาธารณสุข 1 - พื้นที่รับผิดชอบศูนย์บริการสาธารณสุข 2 - พื้นที่รับผิดชอบศูนย์บริการสาธารณสุข 3 - พื้นที่รับผิดชอบ 11 ชุมชน โรงพยาบาลตรัง1 มีนาคม 2566
1
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอโครงการ
  2. ประชุมชี้แจ้งแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงาน
  3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคฉี่หนูและการปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคฉี่หนูและปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  5. บันทึกผลการดำเนิน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรมรณรงค์การป้องกันกับโรคฉี่หนูและปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมชุมชน โดยพื้นที่จัดกิจกรรมอยู่ในเขตเทศบาลนครตรัง ได้แก่ ชุมชนสังขวิทย์ ชุมชนหนองยวน ชุมชนย่านการค้า ชุมชนวัฏยาราม 11 ชุมชนโรงพยาบาลตรัง ชุมชนท่าจีน ชุมชนตรอกปลา ชุมชนท่ากลาง ชุมชนนาตาล่วง ชุมชนศรีตรัง ชุมชนวิเศษกุล จากกิจกรรมสามารถลดอัตราป่วยและเสียชีวิตจากโรคฉี่หนูของประชาชนในเขตเทศบาลนครตรังได้ ซึ่งได้ข้อมูลจากงานระบาดโรงพยาบาลตรัง พบผู้ป่วยโรคฉี่หนูในเขตเทศบาลนครตรัง ในปี 2565 และปี 2566 จำนวน 6 ราย และ 1 ราย ตามลำดับ ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวพบว่าจำนวนผู้ป่วยลดลง 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33

กิจกรรมอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคฉี่หนูในชุมชน แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แกนนำชาวบ้านและประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบศูนย์บริการสาธารณสุข 1,2,3 และ 11 ชุมชน โรงพยาบาลตรัง1 มีนาคม 2566
1
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอโครงการ
  2. ประชุมชี้แจ้งแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงาน
  3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และป้องกันโรคฉี่หนูและการปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคฉี่หนูและปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  5. บันทึกผลการดำเนิน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคฉี่หนูในชุมชนจำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ สถานการณ์โรคฉี่หนู การดูแลตนเองและป้องกันโรคฉี่หนู และการจัดสุขาภิบาลในชุมชนให้พลาสจากโรคฉี่หนู ร้อยละ 80 ของประชาชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู จากแบบทดสอบความรู้พบว่า ผู้เข้าอบรมได้คะแนนหลังอบรมอยู่ในระดับ 12 - 15 คะแนน จำนวนย 42 ราย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 84 ของจำนวนผู้ทำแบบสอบถามทั้งหมด แปลผลได้ว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และการป้องกันตัวจากโรคฉี่หนูอยู่ในเกณฑ์ดี