กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ


“ โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอ ตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอปา อีซอ

ชื่อโครงการ โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอ ตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3011-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอ ตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอ ตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอ ตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L3011-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.1 ที่มา : ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาที่แพร่ระบาดอย่างกว้างขวางส่งผลให้เกิดปัญหาความไม่มั่นคงในประเทศ ทั้งในด้านอาชญากรรม เศรษฐกิจและสังคมต่างๆ มากมาย ซึ่งบั่นทอนความสามารถในการพัฒนาประเทศให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนได้ โดยปัญหายาเสพติดในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคโลกไร้พรมแดนได้มีการปรับเปลี่ยนไปทั้งในลักษณะประเภทของยาเสพติด กลุ่มเสี่ยงต่อปัญหายาเสพติด และความสามารถในการเข้าถึงยาเสพติดได้โดยง่ายทั้งในฐานะผู้ค้าและผู้เสพ ซึ่งทำให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดทำได้ยากลำบากมากขึ้น 1.2 สภาพปัญหา : ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติด ภายใต้สถานการณ์โรคระบาด COVID – 19 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 – 4 มกราคม 2565 จังหวัดปัตตานี คือ มีผู้เข้ารับการบำบัด จำนวน 2,433 ราย จำแนกเป็นเพศชาย ร้อยละ 98.27 เพศหญิง ร้อยละ 1.73 จำแนกความนิยมของการใช้ยาและสารเสพติด คือ ยาบ้า ร้อยละ 56.76, กระท่อม ร้อยละ 31.15, เฮโรอีน ร้อยละ 6.86, กัญชา ร้อยละ 2.59 ยาไอซ์และสารระเหยอื่นๆ 2.64 จำแนกกลุ่มผู้ป่วยเป็นผู้ใช้ ผู้เสพและผู้ติด ร้อยละ 2.67, 51.58 และ 45.75 ตามลำดับจำแนกช่วงอายุที่ใช้สารเสพติดมากที่สุด คือ ช่วงอายุ ๑๘ – ๒๔ ปี คิดเป็นร้อยละ 26.88,อายุ ๒๕ – ๒๙ ปี ร้อยละ 24.33, อายุ ๓๐ – ๓๔ ปีร้อยละ 19.24, และมากกว่าอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ร้อยละ 12.00 จำแนกตามกลุ่มอาชีพ รับจ้าง/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 66.16, การเกษตร/ค้าขาย ร้อยละ 15.56, ว่างงาน ร้อยละ 11.24, นักศึกษาและอื่นๆ จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่า กลุ่มเยาวชนเป็นผู้เสพมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและประกอบอาชีพรับจ้าง/ใช้แรงงาน ยังมีการแพร่ระบาดของยาเสพติดเพิ่มขึ้น พบในกลุ่มอายุที่น้อยลง โดยเฉพาะอำเภอเมืองปัตตานี เป็นสถานที่แหล่งท่องเที่ยว สถานศึกษา และสถานประกอบการจำนวนหลายแห่ง ทำให้มีเยาวชนที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหายาเสพติดจำนวนมาก
1.3 ความเร่งด่วน / ผลที่คาดหวัง เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการบำบัดรักษา ติดตามและให้ความช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดและป้องกันไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ คืนคนดีสู่สังคม เพื่อให้ครอบครัว ชุมชนมีความสุขปลอดภัยจากปัญหายาเสพติดจึงจัดทำโครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อเป็นกระบวนการหนึ่งในการขับเคลื่อนศักยภาพเครือข่ายในการดูแลช่วยเหลือผู้ติดยาเสพติดให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที
  2. รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดเพื่อลดอัตราการเกิด ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ และรณรงค์ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้เข้าสู่กระบวนการบำบัดฟื้นฟูในชุมชนเป็นศูนย์กลาง
  3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติด ในระบบบำบัดฟื้นฟูในชุมชนเป็นศูนย์กลางไม่กลับไปเสพซ้ำ และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องของการค้นหา การคัดกรองและการติดตามผู้ป่วยยาเสพติดในชุมชน (กลุ่มผู้ปกครอง)
  2. อบรมให้ความรู้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
  3. อบรมให้ความรู้กลุ่มบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรูปแบบกระบวนการบำบัดและฟื้นฟูในชุมชน
  4. อบรมเครือข่าย(อสม./ผรส.)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด
  5. ประชุมติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด(เครือข่ายติดตามผู้บำบัด จำนวน 20 คน / ผู้เข้ารับการบำบัด จำนวน 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่ผ่านการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและสามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้
  2. มีองค์กรต้นแบบ (นำร่อง) ปลอดยาเสพติด และมีเครือข่ายในการร่วมมือร่วมใจต่อต้าน เอาชนะภัยยาเสพติดในชุมชน
  3. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดมากขึ้น และลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน รวมทั้งสามารถลดอัตราการเกิดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ในชุมชนได้
    1. ปัญหาทางสังคมลดลง ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนปลอดภัยจากปัญหาอาชญากรรมและลักขโมย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘0 ผู้ปกครองและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องยาเสพติด
0.00 80.00

 

2 รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดเพื่อลดอัตราการเกิด ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ และรณรงค์ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้เข้าสู่กระบวนการบำบัดฟื้นฟูในชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายผู้ติดยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัด ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติด ในระบบบำบัดฟื้นฟูในชุมชนเป็นศูนย์กลางไม่กลับไปเสพซ้ำ และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ผ่านการบำบัดสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุข
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที (2) รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดเพื่อลดอัตราการเกิด  ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ และรณรงค์ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้เข้าสู่กระบวนการบำบัดฟื้นฟูในชุมชนเป็นศูนย์กลาง (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติด ในระบบบำบัดฟื้นฟูในชุมชนเป็นศูนย์กลางไม่กลับไปเสพซ้ำ และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องของการค้นหา การคัดกรองและการติดตามผู้ป่วยยาเสพติดในชุมชน (กลุ่มผู้ปกครอง) (2) อบรมให้ความรู้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด (3) อบรมให้ความรู้กลุ่มบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรูปแบบกระบวนการบำบัดและฟื้นฟูในชุมชน (4) อบรมเครือข่าย(อสม./ผรส.)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด (5) ประชุมติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด(เครือข่ายติดตามผู้บำบัด จำนวน 20 คน / ผู้เข้ารับการบำบัด จำนวน  30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หมู่1 บ้านแบรอ ตำบลตะลุโบะ ประจำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3011-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลรอปา อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด