กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6

ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5303-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกซึ่งมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก ในอดีตปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบันและในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรม รวมถึงในชุมชนมักเกิดปัญหาสุขภาพของผู้ด้อยโอกาส เช่น ผู้พิการในชุมชนมากขึ้น จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย ประกอบกับข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้พิการด้อยโอกาสในเขตรับผิดชอบบ้านปาเต๊ะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ครอบคลุมทั้งในระดับตัวบุคคล ในครอบครัว และในชุมชน เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ รวมถึงการช่วยดูแลผู้ด้อยโอกาส เช่น ผู้พิการจากโรคหลอดเลือดสมอง หรือจากความพิการอื่นๆ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว กระจายการดูแลผู้ป่วยให้ครอบคลุมกลุ่มด้อยโอกาสในชุมชน โดยส่งเสริมให้มีความรู้ ทักษะในการดูแลตนเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3อ.2ส. เป็นหลัก หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นและรวมไปถึงให้การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในชุมชนอย่างต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาวะในทุกด้านและส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงสมบูรณ์ทั้งกาย จิต สังคมอย่างยั่งยืน มีคุณภาพชีวิตที่ดี     ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2566 เพื่อสร้างกระบวนการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง การดูแลสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมายในชุมชน ส่งเสริมความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไม่ติดต่อ กระตุ้นเครือข่ายในชุมชนเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ
  2. 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและเปิดโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส
  3. 3 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น
  4. 4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมการมีความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส
  2. คัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 310
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 110
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ ได้แก่ โรคเบาหวาน
    โรคความดันโลหิตสูง
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส เพิ่มขึ้น
  3. ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น
  4. กลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีปัญหาสุขภาพ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและผู้พิการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ ร้อยละ 90

 

25 0

2. กิจกรรมส่งเสริมการมีความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและเปิดโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อที่ 2.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความรู้ฯและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ร้อยละ 80       2.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการส่งเสริมความรู้ฯและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ร้อยละ 80

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ
ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ ร้อยละ 90
90.00

 

2 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและเปิดโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส
ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความรู้ฯและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ร้อยละ 80 2.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการส่งเสริมความรู้ฯและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ร้อยละ 80
80.00

 

3 3 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ๓ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 2ครั้งต่อปี
80.00

 

4 4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 4 กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1060
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 310
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 110
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ (2) 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและเปิดโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส (3) 3 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น (4) 4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมการมีความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส (2) คัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อ บ้านปาเต๊ะ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด