กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-11 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5303-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้น และยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาชุด เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนเปื้อน ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภคที่ได้รับสารปนเปื้อนเข้าไปสะสมในร่างกาย ซึ่งกระทรวงมีนโยบายและมาตรการการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านอาหารอาหารและผู้ปรุงอาหาร ต้องรักษาความสะอาดและสุขลักษณะ ตำบลเจ๊ะบิลังเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจ มีสถานประกอบการต่างๆจำนวนมาก เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย รถเร่ขายยา ตลาดนัด ร้านขายของชำในหมู่บ้าน ประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการชื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะการเลือกชื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านชำในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ เพื่อนำมาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยาหรือของใช้ต่างๆ เครื่องอุปโภค บริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกชื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย
    ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕66 โดยการพัฒนาศักยภาพแก่เครือข่ายสุขภาพชุมชน ซึ่งประกอบด้วยผู้ประกอบการร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้บริโภคในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร จะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องในเรื่องมาตรการสุขาภิบาลอาหารและการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหารทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19
  2. 2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่ประกอบการร้านอาหารแผงลอย โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ ในพื้นที่ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19
  3. ๓. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายสุขภาพ ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้บริโภคและผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ ในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หลังจากดำเนินโครงการ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมาตรการสุขาภิบาลอาหารและการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหารทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สถานประกอบการมีการการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่ประกอบการร้านอาหารแผงลอย โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ และประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายสุขภาพ ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้บริโภคและผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ ในพื้นที่

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายสุขภาพ ได้แก่  อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้บริโภคและผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย  โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หลังจากดำเนินโครงการ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมาตรการสุขาภิบาลอาหารและการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหารทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สถานประกอบการมีการการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่ประกอบการร้านอาหารแผงลอย  โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ และประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องในเรื่องมาตรการสุขาภิบาลอาหารและการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหารทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด : 1.เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ข้ารับการอบรม ร้อยละ 80 2.เครือข่ายสุขภาพเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมาตรการสุขาภิบาลอาหารและการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหาร เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00

 

2 2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่ประกอบการร้านอาหารแผงลอย โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ ในพื้นที่ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด : 2.สถานที่ประกอบการร้านอาหารแผงลอย โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ ได้รับการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหาร ร้อยละ 80
80.00

 

3 ๓. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 3.สถานประกอบการร้านอาหารผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 80 4.ร้านชำผ่านการตรวจสอบสารปนเปื้อนร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องในเรื่องมาตรการสุขาภิบาลอาหารและการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหารทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (2) 2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่ประกอบการร้านอาหารแผงลอย  โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ ในพื้นที่ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (3) ๓. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายสุขภาพ ได้แก่  อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้บริโภคและผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย  โรงอาหาร ตลาดสด ร้านชำ  ในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด