กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอังสนา มากมูล รองผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1485-3-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 เมษายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1485-3-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดี ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของเด็ก แต่ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของบุคคล ปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม มักจะดำเนินชีวิตอย่างง่ายๆไม่คำนึงถึงความสะอาด และความปลอดภัย ตลอดจนผู้ปกครองของเด็กยังขาดความรู้ความเข้าใจทางด้านการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค การดูแลเด็กพิการมีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากเป็นเด็กที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ในเรื่องสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายจิตใจ สมอง และสติปัญญา ความสามารถ เด็กรู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น มีความสุขและมีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเองในขั้นต่อไป โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง เป็นสถานศึกษาที่ให้การเตรียมความพร้อม ส่งเสริมพัฒนาการ และจัดกิจกรรมที่หลากหลาย อันจะช่วยให้เด็กมีการเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างเหมาะสม
อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม
จากการศึกษาข้อมูลสุขภาพของนักเรียน จากงานอนามัยของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง พบว่านักเรียนหน่วยบริการอำเภอปะเหลียน ยังมีปัญหาด้านสุขภาพที่ต้องแก้ไขอีกมาก เช่น ปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน ในขณะเดียวกันก็พบว่า ยังมีนักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเกิดจากครอบครัวของนักเรียนยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของนักเรียน เช่น การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมต่างๆที่ทำให้นักเรียนมีปัญหา แต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรียนไม่ได้เต็มศักยภาพ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนพื้นที่ตำบลปะเหลียน อำเภอะเหลียน เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงด้านสุขภาพ และเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของนักเรียนได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญผู้ปกครองของนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและภาวะโภชนาการ และ เฝ้าระวังการเกิดภาวะทุโภชนาการในเด็กนักเรียนได้
  2. 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้นักเรียนบริโภคได้
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุโภชนาการลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครอง นักเรียน ครูและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและภาวะโภชนาการ และ      สามารถเฝ้าระวังการเกิดภาวะทุโภชนาการในเด็กนักเรียนได้
    2. ผู้ปกครองนักเรียน ครูและผู้ดูแลสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้นักเรียนบริโภคได้
    3. นักเรียนมีสุขภาพและภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และภาวะทุโภชนาการในเด็กนักเรียนลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและภาวะโภชนาการ และ เฝ้าระวังการเกิดภาวะทุโภชนาการในเด็กนักเรียนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้นักเรียนบริโภคได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุโภชนาการลดลง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและภาวะโภชนาการ และ            เฝ้าระวังการเกิดภาวะทุโภชนาการในเด็กนักเรียนได้ (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้นักเรียนบริโภคได้ (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุโภชนาการลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1485-3-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอังสนา มากมูล รองผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด