กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน ”

ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ ถินนา ตำแหน่ง ประธาน อสม.หมู่ที่ 14 บ้านสันติราษฎร์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1485-2-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1485-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคขาดสารไอโอดีน เป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ เป็นปัญหาสาธารณสุขทางด้านโภชนาการที่สำคัญ และเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะปัญญาอ่อน พบได้ในทุกกลุ่มอายุ แต่จะมีผลร้ายแรงชัดเจนในทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 3 ปี โดยในหญิงตั้งครรภ์หากขาดสารไอโอดีนจะส่งผลต่อสมองของทารกในครรภ์ เพราะสารไอโอดีนมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาสมอง ทารกที่อยู่ในครรภ์ต้องการสารไอโอดีนจากมารดาในการเพิ่มขนาดเซลล์สมองและช่วยสร้างโครงข่ายประสาทที่ต่อเชื่อมถึงกัน สร้างปลอกหุ้มเซลล์ใยประสาทอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากขาดสารไอโอดีนจะส่งผลให้เกิดความด้อยของสมองในทารกและมีความเสี่ยงต่อการแท้งบุตรสูง อาจทำให้ทารกตายตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือพิการตั้งแต่กำเนิด เด็กที่เกิดจากมารดาที่ขาดสารไอโอดีนจะส่งผลให้สมองและร่างกายเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ร่างกายแคระแกร็น รูปร่างเตี้ย และมีส่วนทำให้ความฉลาดทางสติปัญญาของเด็กตํ่าลง หรือมีโอกาสที่จะเป็นปัญญาอ่อน เป็นใบ้ ช่วยตัวเองไม่ได้กลายเป็นเด็กเอ๋อ อันจะบั่นทอนคุณภาพชีวิตโดยรวม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ส่วนในเด็กวัยเรียนที่ขาดสารไอโอดีนจะส่งผลให้เรียนรู้ช้า เฉื่อยชา เป็นคอพอก ส่วนในวัยผู้ใหญ่หากขาดสารไอโอดีนจะทำให้กลายเป็นคนเซื่องซึม เฉื่อยชาประสิทธิภาพการทำงานลดลง ปัจจุบันยังพบว่าประชาชนทุกภาคของประเทศยังประสบปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ระดับความรุนแรงต่างๆ อีกจำนวนมาก ถึงแม้ว่าพื้นที่หมู่ 14 ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เป็นพื้นที่ที่อยู่ภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งภาคใต้เป็นพื้นที่ ที่มีภาวการณ์ขาดสารไอโอดีนน้อยที่สุดของประเทศก็ตาม แต่ความเสี่ยงที่เกิดภาวะโรคขาดสารไอโอดีนก็ยังคงมีอยู่ ปัญหาดังกล่าวไม่อาจขจัดให้หมดไปได้ ต้องมีการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันตลอดเวลา เพราะหากประชาชนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีนให้เพียงพออย่างต่อเนื่อง ก็สามารถเกิดโรคขาดสารไอโอดีนได้อีก
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 14 ตำบลปะเหลียน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของไอโอดีน ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต สติปัญญา การเรียนรู้ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันไม่ให้ ตนเอง ครอบครัวและชุมชน เป็นโรคขาดสารไอโอดีน และเห็นความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีนให้เพียงพอต่อร่างกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันไม่ให้เป็นโรคขาดสารไอโอดีน
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนเลือกรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีนและเลือกเกลือบริโภคในครัวเรือนอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน
    2. ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันไม่ให้เป็นโรคขาดสารไอโอดีน
    3. ประชาชนสามารถเลือกรับประทานอาหารและเลือกใช้เกลือบริโภคที่มีปริมาณไอโอดีนเพียงพออย่างถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันไม่ให้เป็นโรคขาดสารไอโอดีน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้ประชาชนเลือกรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีนและเลือกเกลือบริโภคในครัวเรือนอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันไม่ให้เป็นโรคขาดสารไอโอดีน (3) 3.เพื่อให้ประชาชนเลือกรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีนและเลือกเกลือบริโภคในครัวเรือนอย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1485-2-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประเสริฐ ถินนา ตำแหน่ง ประธาน อสม.หมู่ที่ 14 บ้านสันติราษฎร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด