ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 263,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวการณ์หยุดหายใจกะทันหัน ถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงที และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธีจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ดังนั้นการอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้อื่นได้
ฝ่ายบริการสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดโครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ
- 2.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 200 คน
- 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์
- 3.กิจกรรมดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความและทักษะในการปฐมพยาบาล และช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานเมื่อประสบเหตุสามารถทำหน้าที่ช่วยชีวิตเบื้องต้นแก่ประชาชนในชุมชนผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ทันท่วงที และถูกต้องเหมาะสมก่อนส่งต่อไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล ส่งผลให้ผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นรอดพ้นจากการเสียชีวิต
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถให้การช่วยเหลือผู้ประสบเหตุได้อย่างปลอดภัยก่อนนำส่งโรงพยาบาล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 200 คน
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย 1 คน x 1 ชม. x 600 บาท x
2 รุ่น เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มจำนวน 4 กลุ่มๆ ละ 2 คน รวม 8 คน x 3 ชม.ๆละ 600 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 28,800 บาท
3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม 35 บาท x 2 มื้อ x 200 คน x 2 รุ่น
เป็นเงิน 28,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
35 บาท x 2 มื้อ x 15 คน x 2 รุ่น
เป็นเงิน 2,100 บาท
5.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรม 80 บาท x 1 มื้อ x 200 คน
x 2 รุ่น เป็นเงิน 32,000 บาท
6.ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
80 บาท x 1 มื้อ x 15 คน x 2 รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าจัดซื้อหุ่นจำลองช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ขนาดครึ่งตัว (ไม่มีแขน) จำนวน 10 ชุดๆ ละ 15,000 เป็นเงิน 150,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ
400
0
2. 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 600x244 ซม. จำนวน 1 ผืน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับป้ายไวนิล ขนาด 600x244 ซม. จำนวน 1 ผืน
400
0
3. 3.กิจกรรมดำเนินโครงการ
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม (เช่น กระดาษA4 สมุดปกอ่อน ปากกา แฟ้มพลาสติก กระดาษทำเกียรติบัตร กล่องเอนกประสงค์สำหรับเก็บอุปกรณ์ในโครงการ ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ คลิปดำ ฯลฯ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม (เช่น กระดาษA4 สมุดปกอ่อน ปากกา แฟ้มพลาสติก กระดาษทำเกียรติบัตร กล่องเอนกประสงค์สำหรับเก็บอุปกรณ์ในโครงการ ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ คลิปดำ ฯลฯ)
400
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าอบรมร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ
2
2.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล
ตัวชี้วัด : 2.ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
400
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ (2) 2.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 200 คน (2) 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (3) 3.กิจกรรมดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 263,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวการณ์หยุดหายใจกะทันหัน ถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงที และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธีจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ดังนั้นการอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้อื่นได้ ฝ่ายบริการสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดโครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ
- 2.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 200 คน
- 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์
- 3.กิจกรรมดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความและทักษะในการปฐมพยาบาล และช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานเมื่อประสบเหตุสามารถทำหน้าที่ช่วยชีวิตเบื้องต้นแก่ประชาชนในชุมชนผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ทันท่วงที และถูกต้องเหมาะสมก่อนส่งต่อไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล ส่งผลให้ผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นรอดพ้นจากการเสียชีวิต
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถให้การช่วยเหลือผู้ประสบเหตุได้อย่างปลอดภัยก่อนนำส่งโรงพยาบาล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 200 คน |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ
|
400 | 0 |
2. 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 600x244 ซม. จำนวน 1 ผืน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับป้ายไวนิล ขนาด 600x244 ซม. จำนวน 1 ผืน
|
400 | 0 |
3. 3.กิจกรรมดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม (เช่น กระดาษA4 สมุดปกอ่อน ปากกา แฟ้มพลาสติก กระดาษทำเกียรติบัตร กล่องเอนกประสงค์สำหรับเก็บอุปกรณ์ในโครงการ ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ คลิปดำ ฯลฯ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม (เช่น กระดาษA4 สมุดปกอ่อน ปากกา แฟ้มพลาสติก กระดาษทำเกียรติบัตร กล่องเอนกประสงค์สำหรับเก็บอุปกรณ์ในโครงการ ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ คลิปดำ ฯลฯ)
|
400 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าอบรมร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ |
|
|||
2 | 2.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล ตัวชี้วัด : 2.ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 400 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยฟื้นคืนชีพ (2) 2.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 200 คน (2) 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (3) 3.กิจกรรมดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......