กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566 ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มรักสุขภาพชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย

ชื่อโครงการ สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7258-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การหกลั้มในผู้สูงอายุแตกต่างจากการหกลัมในวัยหนุ่มสาวหรือวัยเด็ก สาเหตุของการหกล้มสำคัญที่แพทย์ควร ประเมินเป็นลำดับแรกคือ สาเหตุจากปัจจัยทางสรีระวิทยาหรือความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ นิยามของการหกลัม หมายถึง "การ ที่ร่างกายเคลื่อนลงมากระทบสู่พื้นดินหรือที่ 1 ระดับต่ำกว่าระดับเติมโดยไม่ได้เป็นการตั้งใจ" การหกลัมในผู้สูงอายุในความ จริงแล้วเกิดน้อยกว่าในวัยเด็กหรือนักกีฬา แต่ด้วยการที่สรีรวิทยาที่ฤดถอยร่วมกับภาวะกระดูกบางหรือกระดูกพรูน ส่งผล กระทบต่อร่างกายได้อย่างชัดเจน ได้แก่ การบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อและเส้นเอ็นร้อยละ 50 และการบาดเจ็บที่รุนแรงขึ้นร้อยละ 10 เช่น กระดูกหัก เลือดออกในสมอง นอกจากนี้การหกลัมในผู้สูงอายุยังสงผสกระพบต่อจิตใจ โดยเฉพาะการหกสับเกิดขึ้นช้ำ และไม่ได้รับการดูแลแก้ไข นำไปสู่สุขภาพจิตที่แย่ลงหรือภาวะซึมเศร้าได้ร้อยละ 20-30 อุบัติการณ์การหกลัมและการเดินการทรงตัวที่ผิดปกติเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยทั่วโลก และส่งผลต่อผู้สูงอายุทั้งด้าน คุณภาพชีวิตและการเสียชีวิต รวมไปถึงคำใช้จ่ายในการรักษาผู้สูงอายุที่ค่อนข้างสูง สาเหตุของการหกลัมในผู้สูงอายุมีได้หลาย เหตุ มีได้ทั้งทางร่างกาย ยาที่รับประทานและปัจจัย สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ซึ่งแพทย์ควรทำการประเมินผู้ หกล้มโดยเริ่มจาก การชักประวัติการหกลัมที่เกิดขึ้นโดยละเอียดเพื่อนหาสาเหตุที่เป็นได้ ร่วมไปกับการประเมินการเดินการ ทรงตัว สำหรับการป้องกันการหกลัมในผู้สูงอายุ พบว่ามีหลายกระบวนการที่ช่วยป้องกันได้ตามข้อมูลการศึกษาที่ผ่านมา โดยเฉพาะการออกกำลังกายที่มีประสิทธิภาพทั้งการลดอัตราการหกลัมและลดความเสี่ยงต่อการหกล้ม ดังนั้นเมื่อแพทย์ได้ ประเมินผู้สูงอายุและพบความเสี่ยงต่อการหกลัม หรือเคยมีประวัติการหกลัมมาก่อน ควรหาสาเหตุที่มาของการหกลัมและ ความเสี่ยงอย่างละเอียด และให้การดูแลรักษาที่เหมาะสมเพื่อสามารถป้องกันการหกลัมและซะลอภาวะทุพพสภาพต่อไปได้ โดยปัญหาสุขภาพชุมชนที่น้ำมาทำประชาคมอ้างอิงจากแบบสำรวจสุขภาพประชาชนไทยครั้งที่ 6 เป็นการสำรวจ ผู้สูงอายุประมาณ 10,000 คน เพื่อเป้าหมายตามหลักนโยบายผู้สูงอายุแห่งชาติ ให้ผู้สูงอายุสามารถอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีส่วน ร่วมในการพัฒนาชุมชนและประเทศ เป็นที่ต้องการของครอบครัวและสังคม และมีความเข้าใจดีระหว่างคนต่างรุ่นใน ครอบครัว โดยมีประเด็นดังนี้ 1.การหกล้มในผู้สูงอายุ นำไปสู่การบาดเจ็บและเสียชีวิตได้ โดยมีการหกล้มภายในหกเดือน 15.3% พบเกิดปัญหาในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยเฉลี่ยล้มประมาณ 3 ครั้ง ไม่แกต่างกันมากนักระหว่างกลุ่มอายุ เป็นการหก ล้มนอกบ้านมากกว่าในบ้าน และในบ้านเป็นบริเวณห้องนอนและห้องน้ำ สาเหตุที่ทำให้หกลัมคือ การสะดุดสิ่งวัตถุสิ่งของ ลื่น หกล้ม เสียการทรงตัว พื้นต่างระดับ แหละหน้ามีดขณะหกล้ม เป็นการบาดเจ็บแผลฟกช้ำ ถอก หรืออาจถึงข้อสะโพกหักได้ 2.. การพึ่งพิงในกิจวัตรประจำวัน ผู้สูงอายุประมาณ 0. 7-20.2% มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน พบเกิดปัญหาใน ผู้หญิงเป็นมากกว่าผู้ชาย เพิ่มขึ้นตามอายุ 3.ความเสื่อมถอยของอวัยวะ เช่น ต้อกระจก การบดเคี้ยว และการได้ยิน และ สุดท้ายคือโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุทางกายและทางใจ ทางกายเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคข้อเข่าเสื่อม ทางจิตใจ เช่น ภาวะซึมเศร้าเป็นต้น โดยนำประเด็นปัญหาที่ได้จากแบบสำรวจและความเห็นของคนในชุมชนมาจัดทำประชาคมและ จัดลำดับความสำคัญของปัญหา พิจารณาตามขนาดของปัญหา ความรุนแรงของปัญหา ความยากง่าย และความตระหนัก ของคนในชุมชนต่อการแก้ปัญหา จากการทำประชาคมปัญหาทางสุขภาพในเขตชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย มีผู้เข้าร่วมประชาคมเป็นผู้สูงอายุ ในชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม) เป็นจำนวน 11 คน ทีมแพทย์/พยาบาล จากโรงพยาบาลใหญ่ รวมทั้งสิ้น 25 คน โดยประเด็นปัญหาที่ได้จากการทำประชาคมคือปัญหาหกลัมในผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้อง กับการคัดกรองสุขภาพของผู้สูงอายุอำเภอหาดใหญ่ปี 2562 ปัญหาที่พบมากที่สุด 4 อันดับคือ โรคติดต่อไม่เรื้อรัง ข้อเข่า เสื่อม ปัญหาสมองเสื่อม และการหกล้ม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้กำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขและคุณภาพชีวิตให้ประชาชนทุกคน ได้รับการดูแสโดย เสมอภาค ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตามความในพระราชบัญญัติเทศบาล โดย ให้บริการประชาชนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน และทั้งนี้ปัญหาสุขภาพที่ได้มาเกิดจากการทำประชาคมและการ จัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยชุมชนอย่างแท้จริง จึงได้จัดทำโครงการ "สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีลับ" เพื่อส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ ประเมินความเสี่ยงต่อการพสัดตกหกล้มของคนในชุมชน รู้สถานะความเสี่ยงของตนเอง ฝึกการทรงตัว การ ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ รวมถึงการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ปลอดภัยต่อการดำเนิน ชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อลดโอกาสลัม โดยจะมีการติดตามโครงการดังกล่าวทุกๆ 3 เตือน เพื่อให้เกิดคววุมยั่งยืน,และเป็นต้นแบบ โครงการชุมชนอันมาจากการมีส่วนร่วมของชุมชนที่แท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อ การล้ม และได้รับการส่งต่อ/ดูแลต่อเนื่อง
  2. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนออกกำลังกายทำให้มีกำลัง กล้ามเนื้อ การทรงตัวดีขึ้น
  3. 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่ยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมคัดกรองประเมินการล้มผู้สูงอายุในชุมชนและประเมินภาวะเสี่ยงกระดูกพรุน
  2. 2.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุภาวะโภชนาการการจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านป้องกันการล้มโดยแพทย์นักกายภาพและนักโภชนาการ
  3. 3.กิจกรรมออกกำลังกาย
  4. 4.กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์
  5. 5.กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จากผู้สูงอายุในชุมชนได้มีการรวมกลุ่มทำประชมคม ได้ประเด็นปัญหาสุขภาพที่ชุมชนต้องการแก้ไขอย่างแท้จริง จะทำให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีความตระหนักในการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ และได้รับการประเมินสุขภาพ คัดกรองเสี่ยงต่อล้ม ผู้สูงอายุในชุมชนที่เสี่ยงต่อกระดูกพรุนได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมอัตราการสัมลดลง และเกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุภาวะโภชนาการการจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านป้องกันการล้มโดยแพทย์นักกายภาพและนักโภชนาการ

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท  เป็นเงิน 350 บาท
  4. ค่าจัดทำเอกสาร (ชุดคู่มือประกอบการอบรม) จำนวน 50 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  5. ค่าจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวผู้สูงอายุ จำนวน 50 เล่มๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  6. ค่าถุงผ้าสปันบอนด์พร้อมสรีนข้อความ สำหรับใส่เอกสารการอบรม จำนวน 50 ใบๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  2. ได้รับค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
  3. ได้รับค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท  เป็นเงิน 350 บาท
  4. ได้รับค่าจัดทำเอกสาร (ชุดคู่มือประกอบการอบรม) จำนวน 50 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  5. ได้รับค่าจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวผู้สูงอายุ จำนวน 50 เล่มๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  6. ได้รับค่าถุงผ้าสปันบอนด์พร้อมสรีนข้อความ สำหรับใส่เอกสารการอบรม จำนวน 50 ใบๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท

 

50 0

2. 3.กิจกรรมออกกำลังกาย

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าตอบแทนผู้นำการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละ 1 ชม.ละ 300 บาท รวมระยะเวลา 6 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องทำให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์

 

50 0

3. 1.กิจกรรมคัดกรองประเมินการล้มผู้สูงอายุในชุมชนและประเมินภาวะเสี่ยงกระดูกพรุน

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 350 บาท
  3. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม ได้แก่ ปากกา,กระดาษถ่ายเอกสาร ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
  2. ได้รับค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน x 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 350 บาท
  3. ได้รับค่าวัสดุอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม ได้แก่ ปากกา,กระดาษถ่ายเอกสาร ฯลฯ

 

50 0

4. 4.กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าชุดเครื่องเสียง ตู้ลำโพงเคลื่อนที่แบบมีล้อลากพร้อมไมค์ จำนวน 1 ชุดๆละ 9500 บาท เป็นเงิน 9500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้รับชุดเครื่องเสียง ตู้ลำโพงเคลื่อนที่แบบมีล้อลากพร้อมไมค์ จำนวน 1 ชุดๆละ 450 บาท เป็นเงิน 900 บาท

 

50 0

5. 5.กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2x2.4 เมตร ตรม. ละ 150 บาท จำนวน 2 ผืนๆละ 450 เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้รับป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2x2.4 เมตร ตรม. ละ 150 บาท จำนวน 2 ผืนๆละ 450 เป็นเงิน 900 บาท

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อ การล้ม และได้รับการส่งต่อ/ดูแลต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุในโครงการอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 100 ได้รับการประเมินสุขภาพและคัดกรองความเสี่ยงต่อการล้มและได้รับการส่งต่อ/รักษาต่อเนื่อง

 

2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนออกกำลังกายทำให้มีกำลัง กล้ามเนื้อ การทรงตัวดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 2.ผู้สูงอายุในโครงการ ร้อยละ 80 ไม่ล้มหรือไม่ล้มซ้ำภายใน 3 เดือน

 

3 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 3.ผู้สูงอายุในโครงการ ร้อยละ 60 มีกำลังกล้ามเนื้อและการทรงตัวดีขึ้น

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อ การล้ม และได้รับการส่งต่อ/ดูแลต่อเนื่อง (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนออกกำลังกายทำให้มีกำลัง กล้ามเนื้อ การทรงตัวดีขึ้น (3) 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่ยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมคัดกรองประเมินการล้มผู้สูงอายุในชุมชนและประเมินภาวะเสี่ยงกระดูกพรุน (2) 2.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุภาวะโภชนาการการจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านป้องกันการล้มโดยแพทย์นักกายภาพและนักโภชนาการ (3) 3.กิจกรรมออกกำลังกาย (4) 4.กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ (5) 5.กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7258-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มรักสุขภาพชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด