กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร


“ โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซิส (ไข้ฉี่หนู) ”

ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางธนบรรณ กล้าเวช

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซิส (ไข้ฉี่หนู)

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1523-2-10 เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซิส (ไข้ฉี่หนู) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซิส (ไข้ฉี่หนู)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซิส (ไข้ฉี่หนู) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1523-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,073.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค พบว่าสถานการณ์ของโรคเลปโตสไปโรสิส หรือโรคไข้ฉี่หนู ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. - 22 พ.ค. 2565 พบผู้ป่วย จำนวน 356 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิตนอกจากนี้ กลุ่มที่พบว่าเสียชีวิตมากที่สุด คือกลุ่มอายุ 45-54 ปี (18.82%) รองลงมาคือกลุ่มอายุ 55-64 ปี (16.57%) และกลุ่มอายุ 35-44 ปี (16.01%) ตามลำดับ ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร และอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ โดยจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 5 ดันแรก คือ จังหวัดระนอง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดพังงา จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา
จากสภาวะการณ์ฝนตกตลอดทั้งปี ทำให้มีน้ำขังในพื้นที่เป็นพื้นที่ลุ่ม มีห้วยหนอง และแอ่งน้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่ง โรคเล็ปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือ โรคฉี่หนู มักจะมาช่วงฤดูฝน โรคเล็ปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือ "โรคฉี่หนู" ทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อสูง จากการประกอบอาชีพเกษตร ทำสวน ที่ต้องแช่อยู่ในน้ำเป็นเวลานานอาจเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า เชื้อเลปโตสไปร่า (Leptospira) เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล รอยขีดข่วน รอยถลอกตามผิวหนัง เยื่อบุตา จมูก ปาก หรือไชเข้าผิวหนังที่แช่น้ำเป็นเวลานาน พบมากในพื้นที่ที่มีล่องน้ำ น้ำขัง เนื่องจากต้องเดินย้ำน้ำหรือพื้นดินที่ชื้นแฉะ อาการของโรคคือมีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดเจ็บกล้ามเนื้อที่โคนขาและน่อง อย่างมาก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ตาแดง บางรายอาจมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปนหรือตัวเหลือง ตาเหลืองเนื่องจากเยื้อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ตับวาย ไตวาย และเสียชีวิตได้ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีความห่วงใยสุขภาพ ประชาชนและตระหนักถึงโรคภัยที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก จึงได้จัดทำโครงการ อบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคฉี่หนู (Leptospirosis) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีส และการป้องกันตนเอง 2. เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีส 3. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมรอบบ้านไม่เป็นแหล่งโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่๑ อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคแลปโตสไปโรซีส แก่ประชาชน
  2. กิจกรรมที่ ๒ สำรวจการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและชุมชน ติดตามผล บ้านกลุ่มเป้าหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบบ้านไม่ให้เป็นแหล่งโรค เดือนละครั้งติดต่อกันเป็นเวลา 3 เดือน
  3. กิจกรรมที่ 3 ส่งมอบเกียรติบัตรให้กับบ้านที่เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 155
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีส และสามารถสังเกตอาการของโรค และได้รับการรักษาได้ทันท่วงที และไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคเลปโตสไปโรซีส


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีส และการป้องกันตนเอง 2. เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีส 3. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมรอบบ้านไม่เป็นแหล่งโรค
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของประชาชน ได้รับความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีส และการป้องกันตนเอง 2. ร้อยละ 90 ของประชากรไม่ป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคเลปโตสไปโรซีส 3. ร้อยละ 90 ของบริเวณบ้านได้รับปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมรอบบ้านไม่เป็นแหล่งโรค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 155
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 155
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีส และการป้องกันตนเอง 2. เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีส 3. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมรอบบ้านไม่เป็นแหล่งโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่๑ อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคแลปโตสไปโรซีส แก่ประชาชน (2) กิจกรรมที่ ๒ สำรวจการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและชุมชน  ติดตามผล บ้านกลุ่มเป้าหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบบ้านไม่ให้เป็นแหล่งโรค เดือนละครั้งติดต่อกันเป็นเวลา 3 เดือน (3) กิจกรรมที่ 3 ส่งมอบเกียรติบัตรให้กับบ้านที่เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้และป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซิส (ไข้ฉี่หนู) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1523-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธนบรรณ กล้าเวช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด