กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 364,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันสังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยในปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 68 ล้านคน  โครงสร้างอายุของประชากรเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  อัตราการเกิดของประชากรลดลง  ในขณะเดียวกันประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในปี 2557 ประชากรสูงวัยที่อายุ 60 ปีขึ้นไป มีจำนวนมากถึง 10 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ของประชากรทั้งหมด และประเทศไทยกำลังจะกลายเป็น “สังคมผู้สูงวัยโดยสมบูรณ์” เมื่อประชากรอายุ 60  ปีขึ้นไปมีมากถึงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2564 และคาดว่าจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” ในอีกไม่ถึง 20 ปีข้างหน้าเมื่อประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนถึงร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด       โครงสร้างประชากรของผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ พบว่า ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวมากขึ้นและมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยในปีพ.ศ. 2560 เทศบาลนครหาดใหญ่มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 159,000 คน จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 23,162 คน คิดเป็นร้อยละ 14.51 ของประชากรทั้งหมด  ถือว่าเทศบาลนครหาดใหญ่ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วเช่นกัน  สถานการณ์เหล่านี้นำมาสู่ปัญหาของผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพอนามัย ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม  ซึ่งทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชนต้องตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นพร้อมก้าวเข้าสู่ยุคสูงวัยอย่างมีคุณภาพ  ผู้สูงอายุไม่ใช่บุคคลด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม แต่สามารถมีส่วนร่วมเป็นพลังพัฒนาสังคม จึงควรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีความพร้อมมีศักยภาพ  สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรี เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ  พึ่งพาตนเองได้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย  จิตใจ  ไม่เหงา  ไม่ซึมเศร้า  ไม่ติดบ้านติดเตียงก่อนเวลาอันควรด้วยการให้ความรู้และวิธีการในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพทางกาย สุขภาพจิต จิตปัญญารวมทั้งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบด้านด้วยการให้ข่าวสาร ความรู้ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
      ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ  เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดตั้งขึ้นโดยเทศบาลนครหาดใหญ่เพื่อเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีส่วนร่วมจากภาคประชาชน ในการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ทั้งการดำเนินงานดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์เทศบาลนครหาดใหญ่ในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน  เสริมสร้างให้ประชาชนมีทักษะความรู้ ความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกด้าน  และมีความสุขครอบคลุมทั้ง 5 มิติ คือ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง สุขสงบ ดังนโยบาย “หาดใหญ่ มหานครแห่งความสุข” ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่  จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ขึ้น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต และนำผู้สูงอายุเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพ ที่ดี
  2. เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม
  3. 3. เพื่อเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เป็นศูนย์กลางให้ ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต และเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่/ผู้เกี่ยวข้องวางแผนการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมประชุมชี้แจงปฐมนิเทศผู้เรียนและตรวจประเมินภาวะสุขภาพก่อนเรียน
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรงเรียนผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพ (ดนตรีบำบัด : กลองยาว)
  5. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
  6. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนมีนาคม
  7. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนเมษายน
  8. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนพฤษภาคม
  9. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนมิถุนายน
  10. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือน กุมพาพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่/ผู้เกี่ยวข้องวางแผนการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 1 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมคณะกรรมการโณงเรียนผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วางแผนในการจัดกิจกรรมในโณงเรียนผู้สูงอายุ

 

40 0

2. กิจกรรมประชุมชี้แจงปฐมนิเทศผู้เรียนและตรวจประเมินภาวะสุขภาพก่อนเรียน

วันที่ 24 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

90 0

3. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รับสมัครนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีไวนิลประชาสัมพันธ์
มีนักเรียนมาสมัครเข้าเรียนในโรงเรียนผู้สูงอายุ

 

0 0

4. กิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพ (ดนตรีบำบัด : กลองยาว)

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ผุ้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมในหลักสูตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ศุงอายุสามารถตีกลองยาว และสามารถบัมบัดโรคซึมเศร้า และสามารถจัดการอารมณ์ตนเองได้

 

90 0

5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรงเรียนผู้สูงอายุ

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ผู้สูงอายุเข้าร่วมหลักสูตรในโรงเรียนผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทำในโณงเรียนผู้สูงอายุ

 

90 0

6. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือน กุมพาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 1 วันที่ 1 ก.พ. 61 เรียนรวม

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • การเปลี่ยนแปลง ในวัยผู้สูงอายุ
  • กิจกรรมป้องกันการหกล้ม ครั้งที่ 1 (เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย)
  • สิทธิผู้สูงอายุตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ควรรู้
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) ประวัติความเป็นมาหลักการสำคัญของการเล่นกลองยาว
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม)

ครั้งที่ 2 วันที่ 8 ก.พ. 61 และ9 ก.พ. 61

  • ออกกำลังกาย มโนราบิคค์
  • กระบวนการชราที่มีผลต่อการหกล้มและสมองเสื่อม
  • กิจกรรมป้องกันการหกล้ม ครั้งที่ 2 (เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกายเพิ่มขึ้น
  • ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) ประวัติความเป็นมาหลักการสำคัญของการเล่นกลองยาว
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม)

ครั้งที่ 3 วันที่ 13 ก.พ. 61 รวมห้อง

  • ออกกำลังกาย มโนราบิคค์
  • การป้องกันอุบัติเหตุและการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
  • กิจกรรมป้องกันการหกล้ม ครั้งที่ 3 (เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกายเพิ่มขึ้น
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) เพลง จังหวะและวิธีการตีกลองยาว
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม)

ครั้งที่ 4 วันที่ 22 ก.พ. 61 รวมห้อง

  • การดำรงชีวิตแบบสูงวัยมีคุณภาพและการใช้เวลาว่างให้ว่างเกิดประโยชน์ ชวนกันไปวัดทำบุญในวันพระ (วันพระ)
  • แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในวัด กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน เยี่ยมผู้สูงอายุติดเตียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกาย ทำให้สุขภาพแข็งแรงและผ่อนคลายความเครียด

 

90 0

7. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนมีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 5 วันที่ 2 มี.ค. 61 รวมห้อง

  • ไปศึกษาดูงาน ระหว่างวันที่ 26 ก.พ. – 3 มี.ค. 61 ณ จังหวัดลพบุรี ปทุมธานี กาญจนบุรี

ครั้งที่ 6 วันที่ 9 มี.ค. 61 รวมห้อง

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • การทำบัญชีครัวเรือน
  • กิจกรรมป้องกันการหกล้ม ครั้งที่ 5 (การทรงตัวที่ดี)
  • ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ
  • ดนตรีบำบัด(กลองยาว) ท่ารำประกอบเพลงในการเล่นกลองยาว
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว)

ครั้งที่ 7 วันที่ 15 มี.ค. 61 รวมห้อง

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • หัวเราะบำบัดและการฝึกหายใจคลายเครียด
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว)
  • การแต่งกายที่ใช้ในการเล่นวงดนตรีบำบัด (กลองยาว) คุณค่าและประโยชน์ของการดำรงชีวิตแบบสูงวัยมีคุณภาพและการใช้เวลาว่างให้ว่างเกิดประโยชน์

ครั้งที่ 8 วันที่ 22 มี.ค. 61 และ23 มี.ค. 61

  • บำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยหลักมณีเวชศาสตร์ ที่ห้องประชุมศูนย์หาดใหญ่ชีวาสุข
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) การผสมวงกลองยาว และการนำวงกลองยาวไปแสดง
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม)

ครั้งที่ 9 วันที่ 29 มี.ค. 61 และ30 มี.ค. 61

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ และอาหารเฉพาะโรค ที่ห้องประชุมศูนย์หาดใหญ่ชีวาสุข
  • ฝึกทักษะกฎหมายที่เกี่ยวข้องฯ (การจัดการทรัพย์สิน)
  • ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ
  • แอพพลิเคชั่นสำหรับผู้สูงอายุรู้ไว้ ได้ประโยชน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

90 0

8. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนเมษายน

วันที่ 30 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 10 วันที่ 10 เม.ย.61 รวมห้อง

  • นันทนาการสร้างสุข  : เรียนเพ้นต์ผ้ปาเต๊ะด้วยสีกากเพชร

ครั้งที่ 11 วันที่ 13 เม.ย.61

  • ร่วมกิจกรรมวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุกับครอบครัว /ชุมชน

ครั้งที่ 12 วันที่ 19 เม.ย.61 รวมห้อง

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ
  • สิทธิผู้สูงอายุ การรับรู้สิทธิประโยชน์และช่องทางการติดต่อเพื่อขอรับสิทธิฯ
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว)

ครั้งที่ 13 วันที่ 26 เม.ย.61 รวมห้อง

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • ฝึกทักษะกฎหมายที่เกี่ยวข้องฯ (การทำพินัยกรรมทรัพย์สิน/พินัยกรรมชีวิต)
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว)
  • ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว)

ครั้งที่ 14 วันที่ 27 เม.ย.61 รวมห้อง

  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ
  • การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ
  • การฝึกทักษะกฎหมายที่เกี่ยวข้องฯ (การให้ที่ดิน-บ้านแก่บุตรหลาน)
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว)
  • ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

90 0

9. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนพฤษภาคม

วันที่ 31 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 15 วันที่ 4 พ.ค. 61 รวมห้อง

  • เข้าแถวเคารพ ธงชาติ -สวดมนต์ /นั่งสมาธิ
  • การส่งเสริมความสุข 5 มิติสำหรับผู้สูงอายุ
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว)
  • ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ สมาธิเพื่อสุขภาพ กายประสานจิตปรับสมดุล การจัดดอกไม้ด้วยจิต
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว)

ครั้งที่ 16 วันที่ 10 พ.ค. 61 รวมห้อง

  • เข้าแถวเคารพ ธงชาติ-สวดมนต์ /นั่งสมาธิ
  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • การนวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
  • ฝึกทักษะกฎหมายที่เกี่ยวข้องฯ (การทำสัญญาซื้อขาย)
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ

ครั้งที่ 17 วันที่ 17 พ.ค. 61 รวมห้อง

  • เข้าแถวเคารพ ธงชาติ -สวดมนต์ /นั่งสมาธิ
  • โรคที่พบบ่อยกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (การใช้สมาร์ทโฟน)
  • การปรับตัวของผู้สูงอายุในสังคมที่เปลี่ยนแปลง (กิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว)

ครั้งที่ 18 วันที่ 24 พ.ค. 61

  • เข้าแถวเคารพธงชาติ -สวดมนต์/นั่งสมาธิ
  • ออกกำลังกายมโนราบิคค์
  • ตรวจประเมินสุขภาพหลังเรียน ชั่งนน. วัดความดัน ประเมิน BMI ทดสอบสมรรถนะทางสมอง คัดกรองภาวะซึมเศร้า  ข้อเข่าเสื่อม ฯ ให้ความรู้การประเมินผลการตรวจสุขภาพและวิธีการดูแลสุขภาพ
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว) ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ
  • การดำรงชีวิตแบบ สูงวัยมีคุณภาพและการใช้เวลาว่างให้ว่างเกิดประโยชน์ (กิจกรรมบริหารสมอง)

ครั้งที่ 19 วันที่ 31 พ.ค. 61 รวมห้อง

  • เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ /นั่งสมาธิออกกำลังกาย
  • มโนราบิคค์
  • ตรวจประเมินสุขภาพหลังเรียน (ต่อ) ทำแบบประเมินผู้สูงอายุ ประเมิน ADLประเมินความสุข ฯ สรุปผลรายบุคคล ให้ความรู้การดูแลสุขภาพเฉพาะโรค
  • ดนตรีบำบัด (กลองยาว)
  • ฝึกทักษะการตีกลองยาว ทักษะการร้อง การรำ
  • การดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงฯ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ ร่วมทำความสะอาดปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลากลางน้ำสวนสาธารณะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทำและสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

90 0

10. กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนมิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 20 วันที่ 7 มิ.ย. 61 รวมห้อง

  • สวดมนต์/นั่งสมาธิ -การแสดงชุดรำกลองยาว จิตอาสาเพื่อสังคมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
  • ปัจฉิมนิเทศ
  • มอบวุฒิบัตรจบหลักสูตร กิจกรรมเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชุมกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ประเด็นที่ 1 สูงวัยทำไมต้องมาโรงเรียน
    ประเด็นที่ 2 สิ่งที่คาดหวังอยากให้เกิดขึ้นจากการมาโรงเรียน ประเด็นที่ 3 สิ่งที่ทำได้ดีและเกิดขึ้นตามที่คาดหวัง ประเด็นที่ 4 ปัญหาหรือข้อจำกัดต่าง ๆ
  • แต่ละกลุ่มสรุปและนำเสนอความคิดเห็น
  • ร่วมจัดทำแผนกิจกรรมจิตอาสาเพื่อสังคมของนักเรียนหลังจบหลักสูตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทำ ทำให้เกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพ ที่ดี
ตัวชี้วัด : ประเมินความรู้ความสามารถ ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากการเรียนเพิ่มขึ้น
90.00

 

2 เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม
ตัวชี้วัด : ประเมินภาวะสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วม โครงการมีสุขภาวะที่ดีขึ้น
90.00

 

3 3. เพื่อเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เป็นศูนย์กลางให้ ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต และเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม
ตัวชี้วัด : 1ประเมินความพึงพอใจ ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมาก 2 ประเมินเวลาเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการต้องมีเวลาเรียน ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดประเมินกิจกรรม ผู้เข้าร่วมโครงได้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์หรือช่วยเหลือสังคมอย่างน้อย 1-2 กิจกรรม
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพ ที่ดี (2) เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ และด้านสังคม (3) 3. เพื่อเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ  เป็นศูนย์กลางให้ ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต  และเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่/ผู้เกี่ยวข้องวางแผนการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน (2) กิจกรรมประชุมชี้แจงปฐมนิเทศผู้เรียนและตรวจประเมินภาวะสุขภาพก่อนเรียน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรงเรียนผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพ (ดนตรีบำบัด : กลองยาว) (5) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (6) กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนมีนาคม (7) กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนเมษายน (8) กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนพฤษภาคม (9) กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือนมิถุนายน (10) กิรกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุประจำเดือน กุมพาพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่

รหัสโครงการ 61-L7258-3-01 ระยะเวลาโครงการ 2 มกราคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดโรงเรียนผู้สูงอายุครั้งแรก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด