เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ ”
โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐานียา พรหมพัฒน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5192-2-06 เลขที่ข้อตกลง 66-L5192-2-06
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5192-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 205 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์
และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุโดยเฉพาะเด็กช่วงอายุ
4 -12 ปี เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโต ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูอย่างดีที่สุดเพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทุกเพศ ทุกวัย ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจาการขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร นอกจากนี้ยังเกิดจากพฤติกรรมการกินของเด็กที่มีผลต่อการกำหนดนิสัย และบุคลิกภาพของเด็กในอนาคต โดยการสะสมพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นตั้งแต่มื้อแรกในชีวิต พฤติกรรมการกินต่าง ๆ ที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดูได้กำหนดให้เด็ก ซึ่งมีผลต่อนิสัยการกินของเด็กในอนาคต ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ช่วยกันดูแลเอาใจใส่ เรื่องอาหารการกินหรือโภชนาการของเด็ก ผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อช่วยให้เด็กมีอาหารการกินที่ดี มีคุณค่าทางอาหารและได้ปริมาณที่ครบถ้วน ส่วนใหญ่เด็กมีปัญหาเรื่องความผอม ไม่สมสัดส่วน ซึ่งมีความจำเป็นที่ต้องดูแล แก้ไข เอาใจใส่เด็กกลุ่มนี้ให้มีภาวะโภชนาการที่ดีต่อไป โดยทางโรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน205 คน ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารเช้า ส่วนผลผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครอง
ในชุมชน ดังนั้นโรงเรียนจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับความรู้และฝึกทักษะในการทำงานด้านการอาชีพเบื้องต้น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเองและพัฒนาอาชีพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
- 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
- 3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำเปามีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน ครู บุคลากรและกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำเปา
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ
- การเพาะเห็ดนางฟ้า
- ปุ๋ยหมักชีวภาพ
- การปลูกผักปลอดสารพิษ
- กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง
- แปรรูปอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
205
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีประกอบอาหารที่ปลอดภัย
- นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
- โรงเรียนและชุมชนเป็นโรงเรียนปลอดสารพิษ และชุมชนปลอดสารพิษ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำเปามีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
205
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
205
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย (2) 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน (3) 3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำเปามีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน ครู บุคลากรและกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำเปา (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ (3) การเพาะเห็ดนางฟ้า (4) ปุ๋ยหมักชีวภาพ (5) การปลูกผักปลอดสารพิษ (6) กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง (7) แปรรูปอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5192-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฐานียา พรหมพัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ ”
โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐานียา พรหมพัฒน์
กันยายน 2566
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5192-2-06 เลขที่ข้อตกลง 66-L5192-2-06
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านลำเปา ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5192-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 205 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์
และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุโดยเฉพาะเด็กช่วงอายุ
4 -12 ปี เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโต ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูอย่างดีที่สุดเพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทุกเพศ ทุกวัย ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจาการขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร นอกจากนี้ยังเกิดจากพฤติกรรมการกินของเด็กที่มีผลต่อการกำหนดนิสัย และบุคลิกภาพของเด็กในอนาคต โดยการสะสมพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นตั้งแต่มื้อแรกในชีวิต พฤติกรรมการกินต่าง ๆ ที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดูได้กำหนดให้เด็ก ซึ่งมีผลต่อนิสัยการกินของเด็กในอนาคต ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ช่วยกันดูแลเอาใจใส่ เรื่องอาหารการกินหรือโภชนาการของเด็ก ผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อช่วยให้เด็กมีอาหารการกินที่ดี มีคุณค่าทางอาหารและได้ปริมาณที่ครบถ้วน ส่วนใหญ่เด็กมีปัญหาเรื่องความผอม ไม่สมสัดส่วน ซึ่งมีความจำเป็นที่ต้องดูแล แก้ไข เอาใจใส่เด็กกลุ่มนี้ให้มีภาวะโภชนาการที่ดีต่อไป โดยทางโรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน205 คน ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารเช้า ส่วนผลผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครอง
ในชุมชน ดังนั้นโรงเรียนจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับความรู้และฝึกทักษะในการทำงานด้านการอาชีพเบื้องต้น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเองและพัฒนาอาชีพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
- 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
- 3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำเปามีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน ครู บุคลากรและกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำเปา
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ
- การเพาะเห็ดนางฟ้า
- ปุ๋ยหมักชีวภาพ
- การปลูกผักปลอดสารพิษ
- กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง
- แปรรูปอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 205 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีประกอบอาหารที่ปลอดภัย
- นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
- โรงเรียนและชุมชนเป็นโรงเรียนปลอดสารพิษ และชุมชนปลอดสารพิษ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำเปามีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 205 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 205 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้ปกครอง รู้จักเลือกบริโภคอาหาร และวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย (2) 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน (3) 3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำเปามีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน ครู บุคลากรและกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำเปา (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ (3) การเพาะเห็ดนางฟ้า (4) ปุ๋ยหมักชีวภาพ (5) การปลูกผักปลอดสารพิษ (6) กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง (7) แปรรูปอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เด็กบ้านลำเปาเติบโตสมวัย ปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L5192-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฐานียา พรหมพัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......