กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลใส่ใจ ต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L2971-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 12,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพนิดา สาโด
พี่เลี้ยงโครงการ นายอิมรอน กะสูเมาะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2565 30 ก.ย. 2566 12,250.00
รวมงบประมาณ 12,250.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ พบมากเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งเต้านม ในผู้หญิงไทยปัจจุบันมีการศึกษายืนยันชัดเจนแล้วว่ามะเร็งปากมดลูก เกิดจากเชื้อ Human Papilloma virus หรือเรียกสั้นๆ ว่า ‘HPV’ชนิดที่ก่อให้เกิดมะเร็งมีด้วยกันหลายสายพันธุ์ ซึ่งปัจจุบันพบว่า สายพันธุ์ที่ 16 และ 18HPV เป็นเชื้อที่ติดง่าย ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ ทางการสัมผัสจากพาหะที่นำพาเชื้อไปสู่ช่องคลอด
ดังนั้น ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HPV ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ยังมีการ สึกษา พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้แก่ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้น, มีเพศสัมพันธ์หลายคน, สูบบุหรี่, มีลูกจำนวนมาก และผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่องโดยมีอาการที่แสดงของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่มักไม่มีอาการในช่วงแรก แต่เมื่อเข้าสู่ระยะรุนแรงมากขึ้น อาจมีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือจากการตรวจภายใน อาจจะมีภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดที่ไม่ใช่รอบเดือน มีเลือดออกหลังจากเข้าสู่วัยทองแล้ว และอาจจะมีภาวะตกขาวมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ หรือมีอาการปวดท้องน้อยร่วมด้วยจากสถิติ พบว่าผู้ป่วยมักจะมาพบแพทย์ เมื่อเข้าสู่ระยะลุกลามแล้ว ทำให้การรักษาเป็นไปได้ยากและมีค่าใช้จ่ายสูง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถิติผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยประมาณ 4,500 รายต่อปี และพบผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 8,000 คน ต่อปีนั่นคือจะมีสตรีไทยที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง ปากมดลูก วันละ 8-10 ราย จากการดำเนินงานที่ผ่านมา นั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยการตรวจแป๊บสเมียร์ (Conventional Pap Smear) เป็นการเก็บเซลล์ปากมดลูกมาป้ายบนสไลด์ความแม่นยำในการตรวจขึ้นอยู่กับความชำนาญของผู้อ่านสไลด์แต่ในปัจจุบัน มีวิธีการตรวจแบบเจาะลึกระดับยีนสืโครโมโซม(DNA)ด้วยเทคนิค ‘HPV DNA Testing’ ที่สามารถค้นหาเชื้อ HPV อย่างแม่นยำตั้งแต่ระยะแรก ทำให้สามารถรักษาได้ทันท่วงที ก่อนที่เชื้อจะพัฒนาเป็นมะเร็งปากมดลูก หากตรวจพบเร็วจะมีโอกาสรักษาหายขาดถึง 80-90% โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง เห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยชุดHPV DNA Test

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,250.00 2 12,250.00
1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 1.ให้ความรู้ 0 11,200.00 11,200.00
1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 รณรงค์เชิงรุกในพื้นที่ 0 1,050.00 1,050.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายมีเจตคติที่ดีต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2566 00:00 น.