กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม


“ โครงการนำร่องส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสาร อาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประทีป จันทบูลย์

ชื่อโครงการ โครงการนำร่องส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสาร อาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5268-01-02 เลขที่ข้อตกลง 03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนำร่องส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสาร อาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนำร่องส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสาร อาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้เกษตรกร ประชาชนและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2 เพื่อให้เกิดชุมชนนำร่องในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ จากการสำรวจกลุ่มเป้าหมายมีผู้แจ้งเอกสารตอบกลับเข้าร่วมโครงการฯ ครบตามจำนวน ที่ตั้งไว้ตามแผนคือ จำนวน 23 คน แต่ในวันที่ดำเนินโครงการฯ มีผู้เข้าร่วมจริง จำนวน 19 คน ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ จำนวน 4 คน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้เกษตรกร ประชาชนและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2 เพื่อให้เกิดชุมชนนำร่องในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 23
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกร ประชาชนในตำบลม่วงงาม และบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เพื่อใช้ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร
  2. ประชนชนในชุมชนได้บริโภคอาหารปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการ มีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 23 คน โดยมีการส่งแบบตอบรับเข้าร่วม จำนวน 23 คน แต่ในวันที่ ดำเนินโครงการฯ เข้าร่วม แค่ 19 คน สรุปความพึงพอใจการเข้าร่วมอบรม ดังนี้ 1. ความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ   ภาพรวมผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4. 25 มีหัวข้อระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้
  1. รูปแบบ/หัวข้อ ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 4.32 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
  2. ท่านได้รับความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้ และความพึงพอใจในเนื้อหาโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ 4.21 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

  1. ความพึงพอใจด้านการดำเนินการ   ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยที่ 3.89 โดยมีหัวข้อระดับความ  พึงพอใจจากมากไปหาน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้
      1. อาหาร/อาหารว่าง/เครื่องดื่ม ค่าเฉลี่ย 4.21 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด   2. สถานที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 3.84 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก   3. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 3.63 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก

  2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร   ภาพรวมผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.39 มีหัวข้อระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้   1. การนำเสนอชัดเจนและมีระเบียบแบบแผน ค่าเฉลี่ย 4.52 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
      2. วิทยากรสามารถถ่ายทอด หรือตอบข้อซักถามได้เป็นอย่างดี ค่าเฉลี่ย 4.47 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
      3. ความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยภาพรวม ค่าเฉลี่ย 4.34 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด   4. เนื้อหาครบถ้วนตามหลักสูตรที่กำหนด ค่าเฉลี่ย 4.21 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการอบรม

    • ควรจัดกิจกรรมบ่อยๆ เพื่อเพิ่มความรู้ให้เกษตรกร
    • เพิ่มความรู้ในการอบรม เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพดินในแปลงปลูก
    • ควรเพิ่มระยะเวลาการจัดอบรมให้มากกว่านี้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้เกษตรกร ประชาชนและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2 เพื่อให้เกิดชุมชนนำร่องในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
ตัวชี้วัด : -เกษตรกร ประชาชน และบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -มีหมู่บ้านนำร่อง ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพจากพืชสมุนไพรหรือเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 23 19
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 23 19
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้เกษตรกร ประชาชนและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2 เพื่อให้เกิดชุมชนนำร่องในการผลิตสารไล่แมลงศัตรูพืชจากพืชสมุนไพรและการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ จากการสำรวจกลุ่มเป้าหมายมีผู้แจ้งเอกสารตอบกลับเข้าร่วมโครงการฯ ครบตามจำนวน ที่ตั้งไว้ตามแผนคือ จำนวน 23 คน แต่ในวันที่ดำเนินโครงการฯ มีผู้เข้าร่วมจริง จำนวน 19 คน ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ จำนวน 4 คน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนำร่องส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสาร อาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5268-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประทีป จันทบูลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด