กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเพ็ญนภัส รัตนะ

ชื่อโครงการ โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5200-1-3 เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5200-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่นิยมการประกอบอาหารเพื่อบริโภคเอง เปลี่ยนเป็นนิยมบริโภคอาหารนอกบ้านหรือบริโภคอาหารปรุงสำเร็จ สถานที่จำหน่ายอาหารจึงมีผลกระทบสำคัญต่อสุขภาพประชาชน เนื่องจากสถานที่จำหน่ายอาหารที่ไม่ถูกลักษณะอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรค สารเคมี หรือโลหะหนัก รวมถึงมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ ดังนั้นการ ควบคุมดูแลสถานประกอบกิจการร้านอาหารให้เป็นไปอย่างเหมาะสม เน้นความสะอาดและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค จึงเป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างจริงจัง เพื่อให้ผู้ประกอบการได้ตระหนักถึงความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการ ปรับปรุงและพัฒนายกระดับสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร ประกอบ กฎกระทรวง สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พศ. 2561 กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารต้องผ่าน การอบรมตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด ในปีงบประมาณ 2562 - 2565 เทศบาลตำบลนาทวี ได้ดำเนินการจัดอบรมให้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/ แผงลอยจำหน่ายอาหารไปแล้ว จำนวน 3 รุ่น โดยมีผู้ที่ผ่านการอบรมจำนวน 147 คน ซึ่งผู้ที่ผ่านการอบรมและผ่านการ ทดสอบความรู้จะได้รับบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร มีอายุ 3 ปี และปัจจุบันยังมีกิจการร้านอาหารและแผงลอย จำหน่ายอาหารที่ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม รวมถึงร้านอาหารเปิดใหม่ โดยเฉพาะผู้สัมผัสอาหาร อันได้แก่ บุคคลที่ เกี่ยวข้องกับอาหารตั้งแต่กระบวนการเตรียม ปรุง ประกอบ จำหน่ายและเสิร์ฟอาหาร รวมถึงการล้างและเก็บภาชนะ อุปกรณ์ ซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับอาหารโดยตรง หากอาหาร บริการให้ผู้บริโภคไม่สะอาด และไม่ปลอดภัย ก็จะส่งผลให้ เกิดโรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อได้ พร้อมทั้งได้ดำเนินกิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหารในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลนาทวี พบว่ายังมีร้านอาหารที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร และยังมีร้านที่ไม่ได้รับการตรวจประเมิน จึงมีความ เสียงทั้งในด้านความสะอาดถูกหลักสุขาภิบาลของสถานที่ผลิตและจำหน่ายอาหาร สุขลักษณะของผู้ผลิตและผู้สัมผัส อาหาร คุณภาพอาหาร รวมไปถึงการปนเปื้อนของอาหารจากจุลินทรีย์ เทศบาลตำบลนาทวีได้ถึงเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค จึงได้จัดท้าโครงการสุขาภิบาล อาหารปลอดภัยในใจผู้บริโภค เพื่อให้สถานที่จําหน่ายอาหาร ลักษณะที่ดินละลดความเที่ยงต่อการ ดโรค โดยขอรับ การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาทวี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้มาทาง 1.2 เพื่อให้กิจการร้านอาหารในพื้นที่ผลิตอาหารที่ลาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 1.3 เพื่อดูแล ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารตามหลักเกณฑ์ รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    2.1 ผู้สัมผัสอาหาร ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร 8.2 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน และได้รับป้ายรับรองความ ปลอดภัยด้านอาหาร 8.3 ประชาชนได้รับบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.1 เพื่อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้มาทาง 1.2 เพื่อให้กิจการร้านอาหารในพื้นที่ผลิตอาหารที่ลาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 1.3 เพื่อดูแล ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารตามหลักเกณฑ์ รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้มาทาง 1.2 เพื่อให้กิจการร้านอาหารในพื้นที่ผลิตอาหารที่ลาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 1.3 เพื่อดูแล ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารตามหลักเกณฑ์ รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5200-1-3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวเพ็ญนภัส รัตนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด