กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L8284-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 มีนาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,925.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางแวสปีนะ มะมิง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25,925.00
รวมงบประมาณ 25,925.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมบริโภคของประชาชนจากการปรุงอาหารรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการบริโภคอาหารนอกบ้านมากขึ้น ฉะนั้น ประชาชนจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด จากการสัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องในระหว่างเตรียม - ปรุง - ประกอบอาหาร ซึ่งจะทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคลงสู่อาหารได้จึงได้จัดทำโครงการอบรมการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร มีสุขวิทยาส่วนบุคคลที่ดี ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง พื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงนักท่องเที่ยวได้รับการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากสถานประกอบกิจการที่ได้มาตรฐานต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร

ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

1.00
2 2. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปฏิบัติตามเทศบัญญัติเทศบาลนครยะลา และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้อย่างถูกต้อง

ร้อยละ 80 ของร้านที่เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน

1.00
3 3. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร

ผลคะแนนรวมการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 80 ตัวอย่างอาหารที่สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี (สารเคมีปนเปื้อน 4 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน ฟอกขาว และสารกันรา) ตัวอย่างที่สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนด้านชีวภาพ (เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในภาชนะ/อาหาร/มือ) ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 130 25,925.00 2 25,925.00
21 มี.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร ร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 130 คน 130 21,600.00 21,600.00
10 เม.ย. 66 ลงพื้นที่ตรวจหาเชื้อโคลิฟอร์มในตัวอย่างอาหาร 0 4,325.00 4,325.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สถานที่ปรุงประกอบจำหน่ายอาหารมีการจัดบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
  2. ลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำ
  3. ร้านจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐานสุขอนามัย
  4. ร้านจำหน่ายอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารมีการจัดการขยะมูลฝอยและน้ำเสียอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2566 00:00 น.