กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย รพ.สต.บ้านคู งบประมาณปี 2566 ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหยาด นุ่นหยู่

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย รพ.สต.บ้านคู งบประมาณปี 2566

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3306-2-4 เลขที่ข้อตกลง 006/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย รพ.สต.บ้านคู งบประมาณปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย รพ.สต.บ้านคู งบประมาณปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย รพ.สต.บ้านคู งบประมาณปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3306-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
      ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ โดยในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลายเป็นจำนวนมาก และบางรายมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญและได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน และได้กำหนดให้โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งจะต้องร่วมมือกับองค์กรชุมชนเพื่อดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้คลอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง       สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจากรายงานทางระบาดวิทยา ๕ ปี ย้อนหลัง สำหรับเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู พบว่า ปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๑๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๒๕๖.๔๑ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.๒๕๖๑ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๓๗.๐๔ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.๒๕๖๒ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๗๓.๓๑ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.๒๕๖๓ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๓ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๕๕.๕๖ ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.๒๕๖๔ ไม่พบผู้ป่วย และในปี พ.ศ.๒๕๖๕ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย เท่ากับ ๑๖.๖๗ ต่อแสนประชากร โดยไม่มี่รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ในปี ๒๕๖๐ เกิดขึ้นมากที่สุด มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกใกล้เคียงกับอัตราป่วยของอำเภอกงหราที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกณฑ์ที่กำหนดคือ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ ๒๐ ของค่ามัธยฐานของอัตราป่วยย้อนหลัง ๕ ปี อัตราป่วยไม่เกิน ๘๐ ต่อแสนประชากรต่อปี และเกณฑ์สำคัญที่นำมาพิจารณาคือ ค่าร้อยละของครัวเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มัสยิด ปลอดลูกน้ำยุงลาย (CI=๐) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู จึงเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้คลอบคลุมทุกพื้นที่ในชุมชน  จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคติดต่อ และโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในช่วงการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาด และหลังการระบาดของโรค
  2. ๒ เพื่อการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ในชุมชน และในสถานที่ราชการ และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
  3. ๓ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียนและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. ประชุมเตรียมความพร้อม คณะกรรมการทีม SRRT
  2. ๒. กิจกรรมรณรงค์ สร้างกระแส ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  3. ๓. กิจกรรมการป้องกันโรคล่วงหน้าในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดเทอม
  4. ๔. กิจกรรมดำเนินการควบคุมและป้องกันโรค กรณีเกิดโรคขึ้น เพื่อตัดวงจรการเกิดโรค และการป้องกันการระบาด
  5. ๕. กิจกรรมการประชุมวิเคราะห์ผลการปฏิบัติ
  6. ประชุมเตรียมความพร้อม คณะกรรมการทีม SRRT
  7. ค่าป้ายรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน ๕ ป้าย
  8. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  9. ค่าตอบแทนในการพ่นกำจัดยุงตัวเต็มวัยก่อนเปิดเทอมในโรงเรียน
  10. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
  11. ค่าวัสดุเคมีภัณฑ์ (สารกำจัดลูกน้ำ ยุงลาย,น้ำยาพ่นละอองฝอย,โลชั่น ทากันยุง,สเปรย์พ่นกำจัดยุงลาย)
  12. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายของรพ.สต. บ้านคู ลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดซ้ำ (Second generation case) ๒. ประชาชนเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู มีความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวใน         การป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายได้อย่างถูกต้อง และมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุม         โรค ๒. เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อสม. ประชาชน และหน่วยงานสาธารณสุขในการ ควบคุมลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเตรียมความพร้อม คณะกรรมการทีม SRRT

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อม คณะกรรมการทีม SRRT

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการทีม SRRTความพร้อมในการออกสำรวจชุมชน

 

95 0

2. ค่าป้ายรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน ๕ ป้าย

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สั่งทำป้ายรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน ๕ ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับป้ายประชาสัมพัธ์โครงการ จำนวน ๕ ป้าย

 

0 0

3. ค่าตอบแทนในการพ่นกำจัดยุงตัวเต็มวัยก่อนเปิดเทอมในโรงเรียน

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนในการพ่นกำจัดยุงตัวเต็มวัยก่อนเปิดเทอมในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าตอบแทนในการพ่นกำจัดยุงตัวเต็มวัยก่อนเปิดเทอมในโรงเรียน

 

0 0

4. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื่อน้ำมันเชื้อเพลิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื่อน้ำมันเชื้อเพลิง

 

0 0

5. ค่าวัสดุเคมีภัณฑ์ (สารกำจัดลูกน้ำ ยุงลาย,น้ำยาพ่นละอองฝอย,โลชั่น ทากันยุง,สเปรย์พ่นกำจัดยุงลาย)

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื่อวัสดุเคมีภัณฑ์ (สารกำจัดลูกน้ำ  ยุงลาย,น้ำยาพ่นละอองฝอย,โลชั่น  ทากันยุง,สเปรย์พ่นกำจัดยุงลาย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับวัสดุเคมีภัณฑ์ (สารกำจัดลูกน้ำ  ยุงลาย,น้ำยาพ่นละอองฝอย,โลชั่น  ทากันยุง,สเปรย์พ่นกำจัดยุงลาย) ใช่ในการรณรงค์ในชุมชน

 

0 0

6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับอาหารว่างและเครื่องดื่ม

 

0 0

7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดสั่งอาหารว่างและเครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคติดต่อ และโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในช่วงการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาด และหลังการระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายของรพ.สต. บ้านคู ลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดซ้ำ

 

2 ๒ เพื่อการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ในชุมชน และในสถานที่ราชการ และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 2.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในโรงเรียน (Container Index=๐) และไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบริเวณบ้าน (House Index < ๑๐)

 

3 ๓ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียนและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : 3.ชุมชนเกิดความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคติดต่อ และโรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในช่วงการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาด และหลังการระบาดของโรค (2) ๒ เพื่อการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ในชุมชน และในสถานที่ราชการ และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย (3) ๓ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียนและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ประชุมเตรียมความพร้อม คณะกรรมการทีม SRRT (2) ๒. กิจกรรมรณรงค์ สร้างกระแส ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (3) ๓. กิจกรรมการป้องกันโรคล่วงหน้าในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดเทอม (4) ๔. กิจกรรมดำเนินการควบคุมและป้องกันโรค กรณีเกิดโรคขึ้น เพื่อตัดวงจรการเกิดโรค และการป้องกันการระบาด (5) ๕. กิจกรรมการประชุมวิเคราะห์ผลการปฏิบัติ (6) ประชุมเตรียมความพร้อม คณะกรรมการทีม SRRT (7) ค่าป้ายรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน ๕ ป้าย (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (9) ค่าตอบแทนในการพ่นกำจัดยุงตัวเต็มวัยก่อนเปิดเทอมในโรงเรียน (10) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (11) ค่าวัสดุเคมีภัณฑ์ (สารกำจัดลูกน้ำ  ยุงลาย,น้ำยาพ่นละอองฝอย,โลชั่น  ทากันยุง,สเปรย์พ่นกำจัดยุงลาย) (12) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย รพ.สต.บ้านคู งบประมาณปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3306-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหยาด นุ่นหยู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด