กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจควบคู่หลักคำสอนทางศาสนา ประจำปี 2566 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสะตีเย๊าะ ดีนามอ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจควบคู่หลักคำสอนทางศาสนา ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2502-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มีนาคม 2566 ถึง 22 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจควบคู่หลักคำสอนทางศาสนา ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจควบคู่หลักคำสอนทางศาสนา ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจควบคู่หลักคำสอนทางศาสนา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2502-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มีนาคม 2566 - 22 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้ให้ความหมายของคำว่า "สุขภาพ" ไว้ว่า "สุขภาพ (Health) หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ์ ทั้ง 4 มิติ คือ มิติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ มิใช่เพียงแค่ปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้น" แต่ความหมายของ “สุขภาพ ในทัศนะอิสลาม” จะเน้นในมิติด้าน “จิตวิญญาณ (spiritual well-being)” เป็นสำคัญ เพราะอิสลามมีหลักความศรัทธาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพระผู้เป็นเจ้า คือ มีความศรัทธาในอัลลอฮฺ อิสลามเชื่อว่าสุขภาวะที่สมบูรณ์ทางจิตวิญญาณ จะเป็นพลังที่จะนำไปสู่สุขภาพที่ดีโดยรวม เนื่องจากอิสลามเป็นวิถีการดำเนินชีวิต (Way of Life) ที่ตั้งอยู่ในกรอบแนวทางของศาสนาที่พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน และแบบอย่างคำสอนของท่านศาสดามุฮัมหมัด(ซ.ล.) ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ทั้งในเรื่องการกิน การนอน กิจวัตรประจำวันทั่วไป สังคม วัฒนธรรม สุขภาพอนามัย การเจ็บป่วย ความตาย และอื่นๆ ซึ่งมีบัญญัติไว้ทั้งสิ้น การมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงดี ย่อมเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต และกระบวนการพัฒนาในทุกด้านทุกมิติ ดังที่ท่านนบีมุฮัมหมัด (ซ.ล.) ได้กล่าวถึงสุขภาพไว้อย่างกว้างขวางและครอบคลุมปัจจัยแห่งสุขภาวะ อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสำคัญของสุขภาพไว้อย่างเป็นองค์รวม ว่า“ผู้ใดที่ตื่นเช้าขึ้นมา มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีจิตใจที่สงบร่มเย็น ไม่มีความวิตกกังวลทุกข์ร้อน มีอาหารสำหรับบริโภคในวันนั้น ก็ประหนึ่งว่าเขาผู้นั้นได้ครองโลกไว้ทั้งโลก” องค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับบการสร้างสุขภาพ เป็นการทบทวน และศึกษาองค์ ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เช่น โรคเรื้อรัง (หัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน และความดันโลหิตสูง) อาหารและโภชนาการ ทันตสุขภาพ โรคติดต่ออ และสุขภาพจิต โดยศึกษาจากบัญญัติอิสลาม ซึ่งประกอบไปด้วย อัลกุรอานและหะดิษ และใช้ความรู้ จากประสบการณ์ ของผู้รู้ หรือผู้มีประสบการณ์ นํามาบรรยายธรรมภูมิปัญญา ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆในอัลกุรอานและหะดีษ เพื่อการบูรณาการกับการแพทย์แผนปัจจุบัน นอกจากจะได้ชัดความรู้ในแต่ละประเด็น แล้วความคาดหวัง สำคัญที่สุดคือกระบวนการของโครงการจะทำให้ผู้นําศาสนาเข้าใจและให้ความสำคัญกับบการพัฒนา สุขภาพชุมชน ของคนในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจโดยใช้หลักคำสอนทางศาสนา


    ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในมุมมองของการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจในแบบอิสลาม ถือว่าการดูแลรักษาสุขภาพนั้นเป็นหน้าที่ (วาญิบ) สำหรับมนุษย์ เพราะสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ดี เป็นความโปรดปราน (เนี๊ยะมัต) ที่อัลลอฮฺ ทรงประทานให้แก่มนุษย์ ด้วยการรักษาสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง แต่หากปล่อยปละละเลยไม่ใส่ใจ หรือกระทำการใด ๆ อันเป็นมูลเหตุแห่งการบ่อนทำลายสุขภาพ นอกจากผู้นั้นจะต้องได้รับความเดือดร้อนในชีวิตบนโลกนี้แล้ว เขายังต้องรับผิดชอบและถูกสอบสวนในวันอาคีเราะฮฺ (โลกหน้า) อีกด้วย ดังที่ท่านนบีมุฮัมหมัด(ซ.ล.) มุฮัมหมัด(ซ.ล.) ได้กล่าวว่า“และสำหรับร่างกายของเจ้านั้น เป็นหน้าที่ซึ่งเจ้าต้องดูแลมัน”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของประชาชน โดยการให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ฟังการบรรยายธรรม จากกิจกรรมตามโครงการที่จัดขึ้นสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม สามารถดูแลตัวเอง และลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 150
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
    2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับ นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคทางสุขภาพกาย และสุขภาพจิตใจ
    3. ผู้เข้ารับอบรมมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมได้ความรู้ความเข้าใจเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตตนเองได้

     

    2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของประชาชน โดยการให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ฟังการบรรยายธรรม จากกิจกรรมตามโครงการที่จัดขึ้นสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้จากการได้รับความรู้ในการดูแลตัวเอง การฟังบรรยายธรรม สามารถนำมาปรับใช้ในการดูแลตนเองในชีวิตประจำวันได้

     

    3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม สามารถดูแลตัวเอง และลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการดูแลตัวเองและลดอัตราความเสี่ยงการเกิดโรคต่างๆได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 150
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของประชาชน โดยการให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ      ฟังการบรรยายธรรม จากกิจกรรมตามโครงการที่จัดขึ้นสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม สามารถดูแลตัวเอง และลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจควบคู่หลักคำสอนทางศาสนา ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2502-2-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสะตีเย๊าะ ดีนามอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด