กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกินผักปลอดภัยจากสารพิษ เพื่อชีวิตที่ยืนยาวบ้านควนหัวช้าง
รหัสโครงการ 66-L5175-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. หมู่ที่ 6 ต.คลองเปียะ
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 15,510.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศศิธร หมันเหล็ม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนผู้บริโภคและเกษตรกรที่ได้รับการตรวจเลือดไม่พบสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐานความปลอดภัย
85.41

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลคลองเปียะ เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่สวนยางพารา สวนผลไม้ และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงขึ้นได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภคในพื้นที่รับผิดชอบ จัดทำโครงการนี้ ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและประชาชนผู้บริโภคในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ได้รับการเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 66 ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม มาตรา 67 (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ 6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและลดอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมี เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มร้อยละของประชาชนที่ได้รับการตรวจเลือดไม่พบสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจเลือดไม่พบสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐานความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

85.41 95.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,510.00 7 15,510.00
2 พ.ค. 66 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวของเพื่อชี้แจงโครงการและวางแผนการดำเนินงาน 0 610.00 610.00
4 - 7 พ.ค. 66 สำรวจข้อมูลและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 0 100.00 100.00
10 พ.ค. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการลดปัจจัยเสี่ยงเพิ่มความปลอดภัยในการบริโภค 0 3,550.00 3,550.00
11 พ.ค. 66 ภาคสนามเก็บและบันทึกข้อมูลบุคคลและเจาะเลือดหารสารเคมีตกค้างในเลือด ครั้งที่ 1 0 3,900.00 3,900.00
7 มิ.ย. 66 ภาคสนามเก็บและบันทึกข้อมูลบุคคลและเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด ครั้งที่ 2 0 500.00 500.00
6 ก.ค. 66 ประชุมเชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมการบริโภคผักและการประกอบอาชีพของเกษตรกรที่ปลูกผัก 0 6,475.00 6,475.00
28 ก.ย. 66 สรุปผลการดำเนินงาน 0 375.00 375.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความปลอดภัยจากสารเคมีในการบริโภคผัก ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 2566 00:00 น.