กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19
รหัสโครงการ 66-L3346-5-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน โดย นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 15,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 15,050.00
รวมงบประมาณ 15,050.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลังจากกระทรวงสาธารณสุข ปรับลดมาตรการป้องกันควบคุมโรคโควิดจากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคติดต่อเฝ้าระวัง เนื่องจากสถานการณ์การระบาดในประเทศดีขึ้น กล่าวคือแนวโน้มจำนวนผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง และอัตราการเสียชีวิตลดลง และความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิดอยู่ในระดับสูง และกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้ปรับเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ลำดับที่ 57 ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นมาแต่การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคก็ยังคงต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว 7 กลุ่มโรคทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่เป็นปกติมากที่สุดและสามารถอยู่ร่วมกับโควิด 19 ได้อย่างปลอดภัย
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ประชาชนที่มารับบริการ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มผู้สูงอายุ รวมถึงเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ให้บริการที่อาจมีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อจากผู้รับบริการ และบุคลากรสาธารณสุขก็มีโอกาสเป็นฝ่ายแพร่เชื้อให้กับผู้รับบริการเช่นกันการเฝ้าระวังป้องกันในด้านสุขอนามัยส่วนบุคคลจึงยังคงเป็นสิ่งสำคัญต่อการไม่ให้เกิดโรคโควิด-19 และสถานบริการสาธารณสุขก็ต้องเป็นสถานที่ ที่มีความสะอาด ปลอดภัย ไม่เป็นแหล่งกระจายเชื้อให้แก่ผู้มารับบริการ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนที่มารับบริการและบุคลากรสาธารณสุขมีความปลอดภัยจากโรคโควิด-19

ร้อยละ 100 ของประชาชนที่มารับบริการสวมหน้ากากอนามัยทุกคน

100.00 100.00
2 เพื่อให้ประชาชนและบุคลากรสาธารณสุขมีวัสดุ/อุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19

ร้อยละ 60 ประชาชนและบุคลากรสาธารณสุขมีวัสดุ/อุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19

60.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,050.00 0 0.00
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 เฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในกลุ่ม ประชาชนทั่วไปและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มา รับยาตามนัดทุกเดือน 0 15,050.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนผู้มารับบริการและบุคลากรมีความปลอดภัยจากโรคโควิด-19
2.ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุขและอยู่ร่วมกับโควิด-19 ได้อย่างปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2566 00:00 น.