กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต


“ โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566 ”

ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายกอดะ เจะมะ

ชื่อโครงการ โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3050-01-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3050-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในประเทศไทย พบอัตราการเสียชีวิตอันมีสาเหตุมาจากโรค NCDs เพิ่มขึ้นโดยในปี 2559 สาเหตุการตาย 3 อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งรวมทุกประเภท รองลงมาคือ โรคหลอดเลือด สมองและโรคหัวใจขาดเลือด คิดเป็นอัตราการเสียชีวิตเท่ากับ 117.7 48.7 และ 32.3 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ในปี 2555- 2559 พบอัตราป่วยของผู้ป่วย 3 อันดับแรก คือ โรคหัวใจ รองลงมาคือโรคเบาหวานและ โรคไตวาย (อ้างอิง :รายงานประจำปี2561 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ในปีงบประมาณ 2566 มีการคัดกรองเบาหวานและความดันในชุมชนตำบลหนองแรต ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2565 จำนวนประชากรทั้งหมด 3,079 ราย จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,049 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.85
พบว่ายิ่งคัดกรองมากก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นแนวทางแก้ไขจะต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยเริ่มตั้งแต่การคัดกรอง แล้วมาแบ่งกลุ่มตามความเสี่ยง ดี เสี่ยง ป่วยในกลุ่มป่วยต้องดำเนินการส่งต่อเพื่อให้ได้รับการรักษาการวินิจฉัยจากแพทย์ที่ถูกต้องทันท่วงที
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรตร่วมกับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่งจังหวัดปัตตานีจึงต้องดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุกป้องกันการเกิดโรคโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรงณรงค์คัดกรองสุขภาพและค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและโรคความดันสูงมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยง/ภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน และความดันสูง ให้ได้รับการรักษาท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอสม.และเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  3. จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ รพ.สต. ให้กับ อสม. ผู้รับผิดชอบ
  4. ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชากรกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลห 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชากร 35 ปีขึ้นไปในตำบลหนองแรต มีการเฝ้าระวัง และการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2 ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้ มีทัศคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องอย่างเหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดอุบัติการณ์โรครายใหม่
3 ประชากรกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่และให้ได้รับการส่งต่อ เพื่อการรักษาตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและคความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอสม.และเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม  4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอสม.และเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน  3  ครั้ง  ห่างกัน  1  เดือน  โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว  พร้อมคืนข้อมูลผลการตรวจซ้ำให้กับกลุ่มเป้าหมายรับทราบภาวะสุขภาพของตนเองเป็นรายบุคคล จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน .....40........คน
        -  ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มแก่ผู้เข้ารับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตซ้ำหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ  จำนวน.....40.......คนๆละ ×  25  บาท  ×  1  วัน เป็นเงิน...2,000...บาท รวมกิจกรรมที่  4    เป็นเงิน......2,000........บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 จากการติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย ตรวจสุขภาพจำนวน 3 ครั้งห่างกัน 1 เดือนหลังเข้ารับการอบรมโครงการแล้วพบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น ส่งผลทำให้ผลการตรวจสุขภาพค่าน้ำตาลในเลือดครั้งที่ 3 อยู่ในระดับปกติ มากที่สุดจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 65 และจำนวน 17 รายมีผลการตรวจสุขภาพค่าน้ำตาลในเลือดครั้งที่ 3 อยู่ในระดับเสี่ยง
1.1 ผลการตรวจสุขภาพ ค่าความดันโลหิตสูง (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน) กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 3 ครั้งผลค่าความดันระดับปกติ คงเดิม จำนวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 45  ผลค่าความดันระดับเริ่มสูง เพิ่มขึ้นจากเดิมในครั้งที่ 2 จำนวน 7 ราย ในครั้งที่ 3 เพิ่มเป็นจำนวน 9 รายคิดเป็นร้อยละ 45  และผลค่าความดันระดับสูง ลดลง จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 10
และผลการประเมินการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular risk (CVD Risk)) กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย อยู่ในระดับโอกาสเสี่ยงต่ำ ( 

 

0 0

2. กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • นัดกลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน คัดกรองเจาะเลือด FPG ซ้ำ 1 วัดถัดไปหลังวันคัดกรองที่ รพ.สต. เพื่อตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยเบาหวาน
    1.จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต.
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด..40..คน  (กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 20 คน, กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 20 คน) เปิดโครงการ โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรต บรรยายความเป็นมาและความสำคัญของโครงการในการจัดโครงการครั้งนี้
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ลงทะเบียน ตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก  วัดรอบเอว  วัดความดัน  ชั่งน้ำหนักประเมินค่าดัชนีมวลกาย
  2. เจ้าหน้าที่รพ.สต. บรรยายให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันดลหิตสูงแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ บรรยายให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเสี่ยง ใช้  หลัก 3อ. อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย  โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรต -  จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ ดังนี  -  ฐานอาหารแลกเปลี่ยน -  ฐานฉลากโภชนากา -  ฐานคำนวณแคลอรี่
  3. กิจกรรมจัดการอารมณ์ : กิจกรรมการออกกำลังกาย
  4. ชี้แจ้งเป้าหมายหลังการอบรมมีอสม.ลงติดตามตรวจวัดความดัน Home BP หลังเข้าโครงการ 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน -  ค่าเอกสารการอบรม จำนวน ......40.........ชุด ×  2  บาท         เป็นเงิน......80....บาท -  ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม แก่ผู้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการ
              จำนวน.....40.........คน    ×  25  บาท x 2  ครั้ง                    เป็นเงิน....2,000..บาท -  ค่าอาหารกลางวัน แก่ผู้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการ
              จำนวน.....40.........คน    ×  50  บาท x 1  วัน                      เป็นเงิน....2,000..บาท รวมกิจกรรมที่  3    เป็นเงิน........4,080........... บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลัง เข้ารับการอบรมโครงการ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจหลังเข้ารับการอมรบ ข้อที่ตอบถูกมากที่สุด ข้อ 1 , ข้อ 2 และข้อ 6 จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 และข้อที่ตอบถูกน้อยที่สุดคือ ข้อ 7 รายการอาหารแลกเปลี่ยนช่วยให้ผู้เป็นเบาหวานเลือกกินอาหารได้หลากหลายมากขึ้น และกินได้ในปริมาณทีไม่จํากัด จำนวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 75 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจก่อนเข้ารับการอบรม คิดเป็นร้อยละ 63.3 และมีความรู้ความเข้าใจ เพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์ หลังเข้ารับการอบรม คิดเป็นร้อยละ 90
แบบทดสอบความรู้ก่อน-หลัง เข้ารับการอบรมโครงการ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มเสี่ยงความดันสูงมีความรู้ความเข้าใจหลังเข้ารับการอมรบ ตอบถูกทุกข้อ ยกเว้น ข้อ 3 ระดับความดันโลหิตสูงกว่าเท่าใดแสดงว่าป่วย เป็นโรคความดันโลหิตสูง ตอบถูกจำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 90กลุ่มเสี่ยงความดันสูงมีความรู้ความเข้าใจก่อนเข้ารับการอบรม คิดเป็นร้อยละ 90 และมีความรู้ความเข้าใจ เพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์ หลังเข้ารับการอบรม คิดเป็นร้อยละ 99

 

0 0

3. จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ รพ.สต. ให้กับ อสม. ผู้รับผิดชอบ

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมอสม. และกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผู้รับผิดชอบ 2 วิเคราะห์ปัญหาที่พบจากการดำเนินงานที่ผ่านมาและจัดทำแผนการดำเนินงาน 3 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 4 ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบเพื่อรับบริการตามวันและเวลาที่กำหนด 5.ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรับทราบเพื่อเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กิจกรรมที่ 1. จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อสม. แจ้งกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ
        - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มแก่ผู้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน.....50......คน × 25 บาท × 1  ครั้ง เป็นเงิน.......1,250...........บาท รวมกิจกรรมที่  1    เป็นเงิน........1,250...........บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผุ้เข้ารวมครบตามองค์ประชุม ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายกำหนดวันลงปฏิบัติงานตามจริง สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาจากการลงคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในชุมชน(เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2565 – 31 ธันวาคม พ.ศ.2565) จากตารางกราฟพบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน เป้าหมาย 1,065 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 1,038 คน คิดเป็นร้อยละ 97.96 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 863 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 833 คน คิดเป็นร้อยละ 96.52
2.1 ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน
2.1.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน พบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานจำนวน 1,038 คน
แบ่งตามความรุนแรงได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มปกติ จำนวน 824 คน คิดเป็นร้อยละ 79.38 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 18.50 สงสัยป่วย จำนวน  22 คน คิดเป็นร้อยละ  2.03 2.1.2 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 22 คน จำนวนที่ได้รับการตรวจซ้ำยืนยันได้ 18 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82
2.2 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 2.2.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูงจากกราฟพบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 833 คน
แบ่งตามความรุนแรงได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มปกติ จำนวน 674 คน คิดเป็นร้อยละ 80.82 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 121 คน คิดเป็นร้อยละ 14.51 สงสัยป่วย จำนวน 38  คน คิดเป็นร้อยละ  4.56 2.2.2 ร้อยละการติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันสูง จำนวน 38 คน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

4. ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นที่  1  ขั้นเตรียมการ
1.1 ประชุมอสม. และกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ
        1.2 ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบเพื่อรับบริการตามวันและเวลาที่กำหนด
ขั้นที่  2  ขั้นดำเนินงาน
        2.1 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขพร้อมอสม.สาธารณสุขประจำหมู่บ้านตามละแวกรับผิดชอบลงดำเนินการคัดกรองตามจุดนัดหมาย
หมู่ที่ 1 บ้านปือโด
หมู่ที่ 2 บ้านแหลม
หมู่ที่ 3 บ้านแบรอ
หมู่ที่ 4 บ้านบือแนลูวา
หมู่ที่ 5 บ้านลางา
หมู่ที่ 6 บ้านวาจา
ตรวขสุขภาพเบื้องต้น :
-ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว
-วัดความดันโลหิต
-คัดกรองเบาหวาน เจาะเลือดที่ปลายนิ้ว
-ประเมินค่า BMI
-ประเมิน CVD Risk
-พบเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พร้อมใบนัดในกลุ่มเสี่ยง
        2.2 จัดทำทะเบียนแยกกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยป่วย นำข้อมูลไปคีย์ในโปรแกรม JHCIS

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงพบว่า ผ่านเกณฑ์ คัดกรองเบาหวาน จำนวน 1,064 คน ได้รับการคัดกรอง 1,011 คน คิดเป้นร้อยละ  95.02
    และคัดกรองความดัน จำนวน 856 คน ได้รับการคัดกรอง 812 คน คิดเป้นร้อยละ 94.86
  2. ร้อยละผลการคัดกรองประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวานตามระดับความเสี่ยง พบว่า
    กลุ่มปกติ  จำนวน 814 คน คิดเป็นร้อยละ 80.51
    กลุ่มเสี่ยง  จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 18.00
    กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน  15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.48
    3.ร้อยละผลการคัดกรองประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงตามระดับความเสี่ยง พบว่า
    กลุ่มปกติ  จำนวน 636 คน คิดเป็นร้อยละ 78.33
    กลุ่มเสี่ยง  จำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 16.13
    กลุ่มสงสัยป่วย  จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 5.42
    กลุ่มป่วย(ส่งพบแพทย์)  จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.12
    4.ร้อยละของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ (ปีพ.ศ.2566-ปีพ.ศ.2567) จากกราฟจำนวนผู้ป่วยปี 2566 โรคเบาหวานรายใหม่
    ปีพ.ศ.2566 จำนวนผู้ป่วย 13 คน ในปีพ.ศ.2567 (เดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2567) พบว่าจำนวนที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ลดลงกว่าเดิม จำนวนผู้ป่วย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23
    และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ปีพ.ศ.2566 จำนวนผู้ป่วย 19 คน ในปีพ.ศ.2567 ลดลงกว่าเดิม จำนวนผู้ป่วย 9 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63
    ทั้งนี้การคัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงอาจยังมีบางส่วนที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ จึงอาจทำให้เห็นว่าจำนวนผู้ป่วยรายใหม่นั้นลดลงจริง แต่อาจพบผู้ป่วยรายใหม่มากขึ้นในปีถัดไปได้มากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน 1. จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ รพ.สต. ให้กับอสม. ผู้รับผิดชอบ 2. สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาจากการลงคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในชุมชน (เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2565 – 31 ธันวาคม พ.ศ.2565) จากตารางกราฟพบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน เป้าหมาย 1,065 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 1,038 คน คิดเป็นร้อยละ 97.96 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 863 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 833 คน คิดเป็นร้อยละ 96.52
2.1 ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน
2.1.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน จากกราฟพบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานจำนวน 1,038 คน
แบ่งตามความรุนแรงได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มปกติ จำนวน 824 คน คิดเป็นร้อยละ 79.38 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 18.50 สงสัยป่วย จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ  2.03 2.1.2 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 22 คน
จำนวนที่ได้รับการตรวจซ้ำยืนยันได้ 18 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82
2.2 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 2.2.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูง จากกราฟพบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 833 คน
แบ่งตามความรุนแรงได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มปกติ จำนวน 674 คน คิดเป็นร้อยละ 80.82 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 121 คน คิดเป็นร้อยละ 14.51 สงสัยป่วย จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ  4.56 2.2.2 ร้อยละการติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันสูง จำนวน 38 คน
ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้หลัก 3อ 2ส โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต.
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด..40..คน
4.1 ผลการส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงพบแพทย์ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค
สรุปผลหลังการติดตามกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการส่งต่อยืนยันจากแพทย์ อัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ผ่านเกณฑ์ ดังนี้
1. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการยืนยันจากแพทย์และขึ้นทะเบียน
จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.06 (ในงบปีประมาณ 2566) 2. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการยืนยันจากแพทย์และขึ้นทะเบียน
จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.15 (ในงบปีประมาณ 2566) 4.2 ตารางแสดงผลการติดตามตรวจสุขภาพหลังเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้ 4.2.1 จากการติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย ตรวจสุขภาพจำนวน 3 ครั้งห่างกัน 1 เดือนหลังเข้ารับการอบรมโครงการแล้วพบว่า ตารางที่ 1 ผลการตรวจสุขภาพ ค่าน้ำตาลในเลือด จากกราฟแสดงให้เห็นว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น ส่งผลทำให้ผลการตรวจสุขภาพค่าน้ำตาลในเลือดครั้งที่ 3 อยู่ในระดับปกติ มากที่สุดจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 65 และจำนวน 17 รายมีผลการตรวจสุขภาพค่าน้ำตาลในเลือดครั้งที่ 3 อยู่ในระดับเสี่ยง
ตารางที่ 2 ผลการตรวจสุขภาพ ค่าความดันโลหิตสูง (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน) จากกราฟแสดงให้เห็นว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 3 ครั้งผลค่าความดันระดับปกติ คงเดิม จำนวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 45  ผลค่าความดันระดับเริ่มสูง เพิ่มขึ้นจากเดิมในครั้งที่ 2 จำนวน 7 ราย ในครั้งที่ 3 เพิ่มเป็นจำนวน 9 รายคิดเป็นร้อยละ 45  และผลค่าความดันระดับสูง ลดลง จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 10
และผลการประเมินการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular risk (CVD Risk)) กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 20 ราย อยู่ในระดับโอกาสเสี่ยงต่ำ (

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรงณรงค์คัดกรองสุขภาพและค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
75.00 90.00 0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและโรคความดันสูงมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ
40.00 90.00 95.00

 

3 เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยง/ภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน และความดันสูง ให้ได้รับการรักษาท่วงที
ตัวชี้วัด : < ร้อยละ 5 อัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
10.00 5.00 3.21

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชากรกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยโรคเบาหวานและความดันโลห 40 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรงณรงค์คัดกรองสุขภาพและค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและโรคความดันสูงมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยง/ภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน และความดันสูง ให้ได้รับการรักษาท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอสม.และเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (3) จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ รพ.สต. ให้กับ อสม. ผู้รับผิดชอบ (4) ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566

รหัสโครงการ 66-L3050-01-01 รหัสสัญญา 3/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ตุลาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ห่วงใยสุขภาพตำบลหนองแรตคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs.) ปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3050-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกอดะ เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด