กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ”

ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฟารีฮา เด่นอุดม

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2972-7(1)-8 เลขที่ข้อตกลง 7/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L2972-7(1)-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมในยุคปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป มีการดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบ จึงทำให้มีพฤติกรรมต่างๆเปลี่ยนแปลงไป นำไปสู่การเป็นโรคร้ายต่างๆได้ง่าย เช่นโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทยในระดับต้นๆในจำนวนโรคไม่ติดต่อ พบว่าโรคความดันดลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนของโรคนี้ก่อให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะที่สำคัญของร่างกายได้แก่ ระบบหลอดเลือด สมอง หัวใจ อาจจะทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างเฉียบพลัน เกิดความพิการ หรือสูญเสียอวัยวะที่ทำหน้าที่ ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพในระยะยาว ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย ครอบครัวและสังคม ในเขตรับผิดรอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแงก็เช่นเดียวกัน ปัจจุบันยังมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่มาโดยตลอดและได้มีความพยายามในการดำเนินการแก้ปัญหามาและคาดหวังว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่มีความยั่งยืน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิด ปัญหาโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังคงเป็นโรคเรื้อรังของคนในชุมชน และเป็นโรคที่เรื้อรังกับชุมชนมาช้านาน ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากโรคดังกล่าวเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งพูดได้ว่ามีความยากลำบากอย่างยิ่งในการที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมของคน จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงในปี 2565 โดยข้อมูลจากผลการคัดกรองภาวะสุขภาพของประชากรอายุ 35 ปีขึ้น ประชากรที่เข้ารับการตรวจคัดกรอง 434 ราย พบว่ามีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 87 ราย ร้อยละ 20.05 ภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน 214 ราย ร้อยละ 41.72 ซึ่งข้อมูลดังกล่าวชี้ชัดให้ความเสี่ยงด้านสุขภาพของคนในชุมชนที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง เป็นข้อมูลที่น่าเป็นห่วงและไม่แปลกเลยที่โรคเรื้อรังยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่มาโดยตลอด ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแมีความพยายามในการที่จะแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีหรือกระบวนการต่างๆเป็นวิถีมุสลิม วิถีที่สอดคล้องกับชุมชน และเป็นไปตามครรลองของศาสนาจึงได้น้อมนำรูปแบบของการส่งเสริมสุขภาพที่มีต้นแบบมาจากท่านศาสดามูฮัมมัด (ซ.ล.) มาใช้บูรณาการในการดูแลสุขภาพเพื่อควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายของโรค
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนตามวิถีมุสลิม
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับพฤติกรรม เพื่อปรับสถานะตนเองอยู่ในกลุ่มปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถป้องกันตัวเองจากโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ เกิดเครือข่ายการทำงานในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชนโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมจากภาคีประชาชนเพื่อให้การแก้ไขปัญหามีความมั่นคงและยั่งยืน และเกิดกระแสของการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องทั้งในกลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยงรวมถึงประชาชนทั่วไปอีกด้วย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายของโรค
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจเพิ่มขึ้นถึงอันตรายของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ร้อยละ 50

     

    2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนตามวิถีมุสลิม
    ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางวิถีมุสลิม

     

    3 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับพฤติกรรม เพื่อปรับสถานะตนเองอยู่ในกลุ่มปกติ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงปรับสถานะสุขภาพตนเองกลายเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 20

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายของโรค (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนตามวิถีมุสลิม (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับพฤติกรรม เพื่อปรับสถานะตนเองอยู่ในกลุ่มปกติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L2972-7(1)-8

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฟารีฮา เด่นอุดม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด