กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ


“ โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลบุหรี่ ”

ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายบุญยา แวโต

ชื่อโครงการ โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3066-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3066-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กฎหมายเกี่ยวกับการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะที่มีการห้ามสูบบุหรี่ในห้องอาหาร ในลิฟต์ ในโรงพยาบาล ฯลฯ โดยมีโทษเอาผิดกับทั้งผู้สูบและเจ้าของสถานประกอบการค่อนข้างหนัก ทั้งนี้เพื่อเป้าหมายในการคุ้มครองผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ จากการถูกคุกคามทางด้านสุขภาพจากควันบุหรี่ของผู้ที่สูบในที่สาธารณะ แต่ถึงแม้จะมีกฎหมายต่าง ๆ เหล่านี้ออกมาในความจริงกลับปรากฏว่าจำนวนคนสูบบุหรี่ที่เป็นวัยรุ่นกลับมีจำนวนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะเพียงแค่ลำพังการออกกฎหมายมากำกับเพียงอย่างเดียวนั้นไม่พอ แต่จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจต่อคนทั่วไปถึงพิษภัยของบุหรี่ และมุ่งเป้าไปในแง่ของการป้องกันไม่ให้ผู้ที่ยังไม่เคยสูบบุหรี่นั้นเป็นเหยื่อของการโฆษณาบุหรี่และรู้สึกอยากลองสูบจนตกเป็นทาสของบุหรี่ในที่สุด ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญมากคือกลุ่มวัยรุ่น วัยรุ่นติดบุหรี่ด้วยเหตุผลต่าง ๆ หลายอย่าง ส่วนใหญ่เป็นจากสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะการมีเพื่อนที่สูบบุหรี่ หรือการที่คนในครอบครัวสูบบุหรี่จะเป็นสิ่งที่ทำให้วัยรุ่นผู้นั้นมีโอกาสสูบบุหรี่ได้มาก บางคนสูบบุหรี่โดยเข้าใจว่าจะทำให้เข้าสังคมเพื่อน ๆ ได้ง่ายขึ้น อย่างน้อยก็เขินเมื่อตอนไม่รู้ว่าจะทำอะไรดีกับมือที่ว่างอยู่ บางคนรู้สึกการสูบบุหรี่ทำให้ดูว่าเขาเป็นผู้ใหญ่ขึ้น ไม่เป็นเด็กเหมือนก่อน สาววัยรุ่นมักจะเข้าใจว่าการสูบบุหรี่สามารถลดน้ำหนักลงได้ง่ายขึ้น เพราะทั้งมือและปากไม่ว่างที่จะทำให้อาหารได้ บางคนก็สูบบุหรี่เพื่อระบายความเครียดจากปัญหาที่บ้านหรือเรื่องแฟน มีหลายครอบครัวที่ไม่พบว่ามีใครในบ้านสูบบุหรี่เลย แต่มีเฉพาะลูกคนที่เป็นวัยรุ่น เพราะวัยรุ่นหลายรายเลือกการสูบบุหรี่เป็นการแสดงออกเพื่อต่อต้านพ่อแม่ เพื่อต้องการแสดงให้พ่อแม่เห็นว่าตนเองนั้นโตแล้ว และไม่ต้องการให้พ่อแม่มาบังคับเขา เขาโตพอที่จะเลือกตัดสินใจทำอะไรกับตัวของเขาเองแล้ว และต้องการให้ความสำคัญในปัญหาของเด็กและเยาวชนในเรื่องของการสูบบุหรี่ จึงได้มีโครงการเด็กรุ่นใหม่ ไม่เอาบุหรี่ เพื่อเด็กและเยาวชน จะได้รู้เท่าทันและปลอดภัยจากบุหรี่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงภัยบุหรี่/ยาเสพติด
  2. 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม รู้วิธีการป้องกันตนเองจากพิษภัยของบุหรี่/ยาเสพติด
  3. 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้เกี่ยวกับพิษภัยไปขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย - อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของบุหรี่/ยาเสพติด การป้องกันและการแก้ปัญหาของบุหรี่/ยาเสพติด - อบรมการดูแลบุตรหลานในครอบครัวในการแก้ปัญหาบุหรี่/ยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 600
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ไม่มีกลุ่มผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่ในเยาวชน นักเรียนในสถานศึกษา
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงภัยบุหรี่/ยาเสพติด
  3. ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากพิษภัยของบุหรี่/ยาเสพติด
  4. ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้เกี่ยวกับพิษภัยไปขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงภัยบุหรี่/ยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงภัยบุหรี่/ยาเสพติดเพิ่มขึ้น

 

2 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม รู้วิธีการป้องกันตนเองจากพิษภัยของบุหรี่/ยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการอบรม รู้วิธีการป้องกันตนเองจาก พิษภัยของบุหรี่/ยาเสพติดเพิ่มขึ้น

 

3 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้เกี่ยวกับพิษภัยไปขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมได้นำความรู้เกี่ยวกับพิษภัยไปขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 600
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงภัยบุหรี่/ยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม รู้วิธีการป้องกันตนเองจากพิษภัยของบุหรี่/ยาเสพติด (3) 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้เกี่ยวกับพิษภัยไปขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย - อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของบุหรี่/ยาเสพติด การป้องกันและการแก้ปัญหาของบุหรี่/ยาเสพติด  - อบรมการดูแลบุตรหลานในครอบครัวในการแก้ปัญหาบุหรี่/ยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3066-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบุญยา แวโต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด