กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางขวัญใจ เกลี้ยงสงค์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1504-3-06 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 เมษายน 2566 ถึง 22 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1504-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 เมษายน 2566 - 22 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,314.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน จัดบริการสาธารณะด้านการศึกษา สำหรับเด็ก อายุ 2 – 4 ปี  จัดประสบการณ์การเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี จัดทำขึ้นสำหรับพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก เพื่อใช้เป็นแนวทางในการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยจุดมุ่งหมายของหลักสูตรกำหนดว่า ให้เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรงและมีสุขภาพดี  สุขภาพจิตดีและมีความสุข มีทักษะชีวิตและสร้างปฎิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีทักษะการใช้ภาษาสื่อสารและสนใจเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ หนึ่งในแนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กต่ำกว่า 3 ปี คือ ให้พ่อแม่ ครอบครัวมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กภายใต้บรรยากาศของความรัก ความอบอุ่น ความไว้วาง ใจและความมั่นคงทางอารมณ์ให้กับเด็ก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๓ (๑) ให้บิดา มารดา หรือ ผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ในการสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการ อบรมเลี้ยงดูและการให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล     การอ่าน เป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างภูมิคุ้มกัน เยียวยา พัฒนาจิตใจและพัฒนาทักษะสู่การเป็นพลเมืองที่มีความรอบรู้อย่างรอบด้าน องค์กรการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ประกาศให้การรู้หนังสือเป็นสิทธิมนุษยชน เป็นพลังแห่งศักดิ์ศรี เป็นพื้นฐานความเข้มแข็งของสังคม เป็นรากฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนอันจะก่อให้เกิดความรุดหน้าในทุกด้าน ทั้งด้านการดูแลรักษาสุขภาพ ความปลอดภัยด้านโภชนาการ การวางรากฐานการอ่านที่เข้มแข็ง จะเป็นทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และเป็นปัจจัยสำคัญของการแสวงหาความรู้ได้ตลอดชีวิต การส่งเสริมให้เด็กมีประสบการณ์ร่วมกับหนังสือตั้งแต่ปฐมวัย (0-6 ปี) เป็นช่วงวัยที่สมองพัฒนาสูงสุด กว่าร้อยละ 80 ของชีวิตมนุษย์ หากผู้ใหญ่ได้ช่วยเลือกสรรและสนับสนุน ส่งเสริมการอ่านหนังสือ เลือกหนังสือที่เหมาะสมกับช่วงวัยของเด็ก จะช่วยเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม สติปัญญา ทักษะการใช้ภาษา ลดภาวะถดถอยพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็ก (Learning Loss)  จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เด็กเล็กเข้าถึงสื่อจอ สื่อออนไลน์ได้ง่ายขึ้น ส่งผลกระทบที่สำคัญ เช่น ปัญหาพัฒนาการด้านภาษา ทำให้เด็กพูดช้า เข้าใจความหมายแต่สื่อสารโดยใช้คำพูดไม่ได้ ปัญหาพฤติกรรม เช่น ก้าวร้าว อารมณ์รุนแรง ผลสืบเนื่องนอกจากมาตรการปิดสถานพัฒนาเด็กเล็กแล้ว ยังเกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจของผู้ปกครองต่อการใช้สื่อจอ และการขาดสื่อและกระบวนการที่เหมาะสมในการพัฒนาศักยภาพ พัฒนาการและสมองของเด็กให้เติบโตสมวัย  ผลการสำรวจสถานการณ์ไอคิวและอีคิวของเด็ก ป.1 ทั่วประเทศโดยกรมสุขภาพจิต พบเด็กที่มีระดับสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์บกพร่องหรือต่ำกว่าร้อยละ70 คิดเป็นร้อยละ 5.8 และพัฒนาการด้านภาษามีปัญหามากกว่าด้านอื่น ๆ สอดคล้องกับข้อมูล โครงการหนังสือเล่มแรก book start ที่ได้ดำเนินการ ตั้งแต่ปี 2557 และโครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย โดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่พบว่า การอ่านหนังสือให้ลูกฟังตั้งแต่อายุ 6 เดือน จนถึง 6 ปี มีผลต่อพฤติกรรมและพัฒนาการที่ดีของเด็กในทุก ๆ ด้าน วิธีการหนึ่งที่สามารถพัฒนาทักษะด้านภาษาและพัฒนาการด้านอื่น ๆ ให้ดีขั้นได้ คือ การอ่านหนังสือกับลูก จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านการพูด การสื่อสาร ทักษะด้านอื่น ๆ ของเด็กเล็ก ตลอดจนเป็นการสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างลูกกับผู้ปกครอง

    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กก่อนวัยเรียน ประกอบกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด ดำเนินการสานพลังขับเคลื่อนให้เกิด “สวัสดิการหนังสือเพื่อเด็กปฐมวัย” จึงจัดทำ “โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการพูดของเด็ก ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ตลอดจนเสริมสร้างความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันในครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูดของเด็ก อายุ 2 ปี
  2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสารของเด็ก อายุ 2 ปี
  3. เพื่อปลูกฝังและส่งเสริมนิสัยรักการอ่านหนังสือให้กับเด็กอายุ 2 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กอายุ 2 ปี มีพัฒนาการด้านการพูดเพิ่มขึ้น
        2. เด็กอายุ 2 ปี มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสาร   3. เด็กอายุ 2 ปี มีนิสัยรักการอ่านหนังสือ ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสาร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูดของเด็ก อายุ 2 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสารของเด็ก อายุ 2 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อปลูกฝังและส่งเสริมนิสัยรักการอ่านหนังสือให้กับเด็กอายุ 2 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูดของเด็ก อายุ 2 ปี (2) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสารของเด็ก อายุ 2 ปี (3) เพื่อปลูกฝังและส่งเสริมนิสัยรักการอ่านหนังสือให้กับเด็กอายุ 2 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการพูด โดยใช้นิทานประกอบหุ่นมือ สำหรับเด็กอายุ 2 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองปะเหลียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1504-3-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางขวัญใจ เกลี้ยงสงค์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด