กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลโคกชะงาย

ชื่อโครงการ โครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3351-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน 2559 ถึง 1 กันยายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤศจิกายน 2559 - 1 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ 10.7 ในปี 2550 (7.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 11.8 (7.5 ล้านคน) ในปี 2553 และร้อยละ 20.0 (14.5 ล้านคน) ในปี 2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2551)นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมากซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2550 พบว่าร้อยละ 69.3 ของประชากรในกลุ่มอายุ 60 - 69 ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น 83.3 ในกลุ่มที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป โดยภาวการณ์เจ็บป่วยโดยเรื้อรัง 6 โรคพร้อมกันถึงร้อยละ 70.8และหนึ่งในสี่ของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพจากปัญหาสุขภาพเป็นเหตุให้ไม่สามารถทำกิจกรรม ที่เคยทำได้ ร้อยละ 18.9 มีปัญหาสุขภาพเหล่านี้นานกว่า 6 เดือน เป็นภาวะทุพพลภาพระยะยาว เป็นเหตุให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูงและต้องการคนดูตลอดเวลา กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินงานตามกฎหมายและประกาศกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ. 2548 และดำเนินงานภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 และแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564)เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยและยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข(ปี 2552–2554) ซึ่งประกอบด้วยยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างและพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็ง และการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายด้านผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเชิงบูรณาการสุขภาพผู้สูงอายุ และยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์ความรู้และการศึกษาวิจัยสุขภาพผู้สูงอายุ จากปัญหาผู้สูงอายุขาดผู้ดูแล หรือขาดคนช่วยเหลือจากชุมชน หรือได้รับการดูแลจากผู้ดูแลที่ไม่มีคุณภาพกระทรวงสาธารณสุข จึงได้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552เรื่องกิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ (ฉบับที่ 6) “การประกอบกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน” เพื่อพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง และผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการหรือทุพพลภาพ ให้ได้รับการดูแลที่มีคุณภาพ


จากเหตุผลดังกล่าว ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองพัทลุงจังหวัดพัทลุงจึงจัดทำโครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง (Folder LTC) เพื่อสำรวจ รวบรวมประวัติของผู้สูงอายุรายบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงเพื่อความสะดวกในการออกเยี่ยมบ้านและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้สูงอายุ LTC ให้มีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งในสถานบริการสุขภาพและในชุมชน โดยมีผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นชุมชน และสังคมได้ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 : ติดสังคม) รวมตัวกันเป็นชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็งที่จะส่งเสริมสนับสนุน การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค และดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 : ติดบ้าน) และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 : ติดเตียง) ให้เป็นผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุ เพื่อรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเป็นระบบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.มีที่เก็บรวบรวมประวัติของผู้สูงอายุ LTC
  2. รวบรวมประวัติของผู้สูงอายุ LTC และการจัดทำ care plan

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 62
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.1สามารถรวบรวมประวัติของผู้สูงอายุรายบุคคล
    1.2ตรวจเยี่ยมบ้านได้ 100 % 1.3สะดวกในการจัดทำ care plan ของ CM /CG 1.4เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้สูงอายุ LTC


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการตำบล    โคกชะงาย  อำเภอเมืองพัทลุง  จังหวัดพัทลุง  จัดทำโครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง (Folder LTC) เพื่อสำรวจ รวบรวมประวัติของผู้สูงอายุรายบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง  เพื่อความสะดวกในการออกเยี่ยมบ้านและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้สูงอายุ LTC        ให้มีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งในสถานบริการสุขภาพและในชุมชน โดยมีผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นชุมชน และสังคมได้ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 : ติดสังคม) รวมตัวกันเป็นชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็งที่จะส่งเสริมสนับสนุน การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค และดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
    (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 : ติดบ้าน) และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ
    (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 : ติดเตียง) ให้เป็นผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ  และจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุ เพื่อรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเป็นระบบต

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.มีที่เก็บรวบรวมประวัติของผู้สูงอายุ LTC
    ตัวชี้วัด : 1. มีที่เก็บแฟ้มประวัติ ผู้สูงอายุ LTCร้อยละ 100

     

    2 รวบรวมประวัติของผู้สูงอายุ LTC และการจัดทำ care plan
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในกลุ่ม LTC มีแฟ้มประวัติรายบุคคลและมีการจัดทำ care plan ร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 62
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.มีที่เก็บรวบรวมประวัติของผู้สูงอายุ LTC (2) รวบรวมประวัติของผู้สูงอายุ LTC และการจัดทำ care plan

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดทำแฟ้มประวัติของผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3351-03-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลโคกชะงาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด