กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ถอดบทเรียน1 สิงหาคม 2566
1
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต.หนองแรต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอดบทเรียน ขั้นตอน ฝากท้องตามนัด และรับประทานยาบำรุงสม่ำเสมอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปจากการ ถอดบทเรียน   1-สาเหตุที่มาฝากครรภ์ช้า 1.ขณะตั้งครรภ์ อ่อนเพลีย ไม่มีแรงที่จะมารับบริการลุกไม่ไหว 2.ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ  ทำให้ไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ กว่าจะรู้ว่าตั้งครรภ์ลูกก็ดิ้น 3.การทำงานที่วันหยุด เสาร์และอาทิตย์ ทำให้ไม่ตรงกับวันฝากครรภ์ที่อนามัยกำหนดวันให้มาฝากครรภ์ 4.ทำงานต่างจังหวัด  และประเทศเพื่อนบ้านมาเลเซีย กลับบ้านนานๆครั้ง 5.ตั้งท้องครรภ์ก่อน ๆ ก็ฝากท้องช้าลูกก็ปกติทุกอย่าง 6.รู้สึกอาย  อายุมาก / ตั้งครรภ์หลายครั้ง 2-สาเหตุที่ไม่รับประทานยาบำรุงเลือด 1.ยามีกลิ่นเหม็น 2.ทานแล้วง่วงนอน เพลีย ไม่มีแรง 3.กลัวลูกโตคลอดยาก 4.ทานแล้วมีอาการอาเจียน 5.กลัวทานอาหารบางอย่างแล้วพอรับประทานยาอาจทำให้เกิดอันตรายได้(อาหารแสลง)

ติดตามผลการตรวจภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต.หนองแรต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามผล ประชุมผู้ร่วมโครงการกับทีม “ANCเคลื่อนที่ แม่และเด็ก” เดือนละ 1 ครั้ง โดยให้ทีม“ANC เคลื่อนที่” ติดตามการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กและเจาะเลือด ของหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %)  และเกือบซีด    (HCT < กว่า 36 %)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการตรวจเลือดของหญิงตั้งครรภ์อยู่ในช่วงปกติ ภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %) ใน lab 1 ในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 50 ราย  พบซีด 5 ราย คิดร้อยละ 10  และใน lab 2 (HCT < กว่า 33 %)  คิดร้อยละ 10 เหมือนเดิม  ผลสืบเนื่องจาก รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กไม่สม่ำเสมอ

การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะที่ตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีด1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต.หนองแรต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดำเนินการสอนตามแผนโรงเรียนการ สอน พ่อ-แม่ 1 ครั้ง                       สอนครั้งที่ 1 ตั้งแต่อายุครรภ์ 12 สัปดาห์-28 สัปดาห์
      * ในรายที่ผลเลือด - HCT < กว่า 36 % ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง พร้อมสมุดบันทึกการกินยาและอาหารแต่ละมื้อ โดยให้สามีหรือญาติเป็นผู้บันทึก - HCT < กว่า 33 % ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง พร้อมสมุดบันทึกการกินยาและอาหารแต่ละมื้อ โดยให้สามีหรือญาติเป็นผู้บันทึก
      * อบรมให้ความรู้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางพร้อมสาธิตเมนูอาหารเสริมธาตุเหล็กแก่กลุ่มหญิงมีครรภ์พร้อมสามี ทีม ANC เคลื่อนที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ทราบอันตรายต่อแม่และบุตรได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ได้ติดตามผล ภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %) ใน lab 1 ในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 50 ราย  พบซีด 5 ราย คิดร้อยละ 10  และใน lab 2 (HCT < กว่า 33 %)  คิดร้อยละ 10 เหมือนเดิม  ผลสืบเนื่องจาก รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กไม่สม่ำเสมอ

1.ขั้นเตรียมการ 1.1 เตรียมบุคคล (ประชุมเจ้าหน้าที่ประจำ รพสต.หนองแรตร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อชี้แจงโครงการ วางแผนดำเนินการ ค้นหาและสำรวจ กลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ) 1.2 จัดตั้งแกนนำ ทีม ANC เคลื่อนที1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต.หนองแรต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นดำเนินการ
      2.1 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงหญิงตั้งครรภ์ทุกราย
      2.2 ซักประวัติหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่อายุครรภ์น้อยกว่า 3 เดือน แนะนำให้ทานกรดโฟลิกก่อน
      2.3 เจาะเลือดในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ก่อนและหลังร่วมโครงการเจาะHct
      2.4 ดำเนินการสอนตามแผนโรงเรียนการ สอน พ่อ-แม่ 1 ครั้ง                       สอนครั้งที่ 1 ตั้งแต่อายุครรภ์ 12 สัปดาห์-28 สัปดาห์
      2.5 ในรายที่ผลเลือด - HCT < กว่า 36 % ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง พร้อมสมุดบันทึกการกินยาและอาหารแต่ละมื้อ โดยให้สามีหรือญาติเป็นผู้บันทึก - HCT < กว่า 33 % ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง พร้อมสมุดบันทึกการกินยาและอาหารแต่ละมื้อ โดยให้สามีหรือญาติเป็นผู้บันทึก
      2.6 อบรมให้ความรู้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางพร้อมสาธิตเมนูอาหารเสริมธาตุเหล็กแก่กลุ่มหญิงมีครรภ์พร้อมสามี ทีม ANC เคลื่อนที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
      2.7 ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ปลูกผักใบเขียวเพื่อเสริมบำรุงเลือดในขณะตั่งครรภ์       2.8 ติดตามผล ประชุมผู้ร่วมโครงการกับทีม “ANCเคลื่อนที่ แม่และเด็ก” เดือนละ 1 ครั้ง โดยให้ทีม“ANC เคลื่อนที่” ติดตามการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กและเจาะเลือด ของหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %)  และเกือบซีด    (HCT < กว่า 36 %)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 92 ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒  สัปดาห์ จำนวน 47 ราย คิดเป็นร้อยละ 94  และได้คลอดในโรงพยาบาล 50 ราย คิดเป็น 100  หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ทราบอันตรายต่อแม่และบุตรได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ได้ติดตามผล ภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %) ใน lab 1 ในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 50 ราย  พบซีด 5 ราย คิดร้อยละ 10  และใน lab 2 (HCT < กว่า 33 %)  คิดร้อยละ 10 เหมือนเดิม  ผลสืบเนื่องจาก รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กไม่สม่ำเสมอ

ส่งเสริมโภชนาการ และลดภาวะซีด ในหญิงตั้งครรภ์1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต.หนองแรต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

2.1 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงหญิงตั้งครรภ์ทุกราย
      2.2 ซักประวัติหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่อายุครรภ์น้อยกว่า 3 เดือน แนะนำให้ทานกรดโฟลิกก่อน
      2.3 เจาะเลือดในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ก่อนและหลังร่วมโครงการเจาะHct
      2.4 ดำเนินการสอนตามแผนโรงเรียนการ สอน พ่อ-แม่ 1 ครั้ง                       สอนครั้งที่ 1 ตั้งแต่อายุครรภ์ 12 สัปดาห์-28 สัปดาห์
      2.5 ในรายที่ผลเลือด - HCT < กว่า 36 % ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง พร้อมสมุดบันทึกการกินยาและอาหารแต่ละมื้อ โดยให้สามีหรือญาติเป็นผู้บันทึก - HCT < กว่า 33 % ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง พร้อมสมุดบันทึกการกินยาและอาหารแต่ละมื้อ โดยให้สามีหรือญาติเป็นผู้บันทึก
      2.6 อบรมให้ความรู้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางพร้อมสาธิตเมนูอาหารเสริมธาตุเหล็กแก่กลุ่มหญิงมีครรภ์พร้อมสามี ทีม ANC เคลื่อนที่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
      2.7 ติดตามผล ประชุมผู้ร่วมโครงการกับทีม “ANCเคลื่อนที่ แม่และเด็ก” เดือนละ 1 ครั้ง โดยให้ทีม“ANC เคลื่อนที่” ติดตามการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กของหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %)  และเกือบซีด    (HCT < กว่า 36 %)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากผลการดำเนินการโครงการฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ต่อเนื่อง งบปี ๒๕๖6 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 50 คน  โดย หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 92 ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ จำนวน 47 ราย คิดเป็นร้อยละ 94  และได้คลอดในโรงพยาบาล 50 ราย คิดเป็น 100  หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ทราบอันตรายต่อแม่และบุตรได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ได้ติดตามผล ภาวะซีด (HCT < กว่า 33 %) ใน lab 1 ในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 50 ราย พบซีด 5 ราย คิดร้อยละ 10 และใน lab 2 (HCT < กว่า 33 %)  คิดร้อยละ 10 เหมือนเดิม ผลสืบเนื่องจาก รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กไม่สม่ำเสมอ