กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู ”
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางธิดา เหมือนพะวงศ์




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8406-01-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L8406-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยีทำให้บุคคลมีการดำเนินชีวิตที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ ตึงเครียด และแข่งขันเพื่อความอยู่รอด ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจ ครอบครัว และชุมชน จาก สถิติพบว่าประชาชนเผชิญความเสี่ยงต่อโรคจากวิถีชีวิตเพิ่มขึ้น แต่ละปีเสียค่าใช้จ่ายสูงมากในการดูแลผู้ป่วยโรค จากวิถีชีวิต 5 โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง และ มะเร็ง ซึ่งจากการ สำรวจสภาวะสุขภาพคนไทย ทั่วประเทศ โดยการตรวจร่างกาย พบว่า ความชุกของบางปัจจัยเสี่ยง มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น เช่น ภาวะอ้วน และภาวะไขมันในเลือดสูง การกินผักผลไม้ไม่เพียงพอ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชน ไทย, 25๖๓) สอดคล้องกับวิจัยพฤติกรรมสุขภาพคนไทย พบว่า วัยผู้ใหญ่ ตอนต้นมีพฤติกรรมบริโภคอาหาร ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แนวโน้มการสูบบุหรี่และดื่ม สุราเพิ่มขึ้น ทั้งเพศหญิง และเพศชาย ขาดทักษะการจัดการความเครียด เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ และเป็น สาเหตุที่สำคัญเกี่ยวกับการตายของประชากรไทย ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมและแบบแผนการดำรงชีวิต (Life – Style) ของแต่ละคน ทั้งพฤติกรรมการกิน การนอน การพักผ่อน การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ การใช้ยา หรือสารเสพติดโดยในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจาก โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกะทันหันถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธีจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ดังนั้นการอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝนอย่างชำนาญ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้อื่นได้
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ ที่มีการดำเนินงานพัฒนาให้ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยการจัดกิจกรรมเรียนรู้ ฝึกทักษะ การดูแลสุขภาพ การช่วยฟื้นคืนชีพ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพและการเสริมสร้างสุขภาพอย่างเพียงพอซึ่งจากการสำรวจ ร้อยละของกลุ่มวัยวัยทำงาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 93.02 โดยส่วนใหญ่ ร้อยละ 76.74 มีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือระดับดี ร้อยละ 16.28 ซึ่งในการทำงานที่ผ่านมาได้รับรางวัลชุมชนต้นแบบดีเด่นด้านการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงมีแนวคิดในการพัฒนาต่อเนื่องให้มีทักษะสำหรับการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพในช่วงวัยที่เหมาะสม ที่มีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ประสานการทำงานดูแลประชาชนที่บ้านและชุมชนแบบ “ใกล้ตัว ใกล้บ้าน ใกล้ใจ” เพิ่มความครอบคลุมให้ได้รับบริการต่อเนื่อง เน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และส่งต่อรักษาในโรคซับซ้อนยุ่งยาก และการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพ ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต ดังนั้นการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพจึงมีความสำคัญในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ให้มีคุณภาพและสุขภาวะที่สมบูรณ์ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และความสามารถของประชาชนใน การเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และประยุกต์ข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพ เพื่อพิจารณาและตัดสินใจในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในตลอดช่วงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มวัยที่มีความสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการเสียชีวิตแบบฉับพลัน( วัชราพร เชยสุวรรณ, 2560) ซึ่งปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญกับความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพจะนำไปสู่การดูแลสุขภาพ ตนเองอย่างเหมาะสม ด้วยหลักความรอบรู้ รอบคอบ มีเหตุผล และระมัดระวัง ในการดูแลสุขภาพ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับประชาชน เป็นการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งมิติด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยให้ความสำคัญกับการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนทุก กลุ่มวัยส่งเสริมให้ประชาชน ในชุมชนดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ภายใต้บริบทพื้นที่ ทั้งกลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และผู้ป่วยในชุมชนได้รับการ ดูแลที่เหมาะสม ด้วยความร่วมมือจากหน่วยงาน และชุมชน ในการสร้างชุมชนให้เป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อให้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ
  2. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มแกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว
  3. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป
  4. จัดพัฒนาศักยภาพกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว
  5. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ
  6. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มภาคีเครือข่าย
  7. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ
  8. พัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว
  9. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
2.กลุ่มเป้าหมายและประชาชนในชุมชน ลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินต่างๆ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มภาคีเครือข่าย

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  ประสานพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน ๒. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ ที่ร่วมในโครงการ วางแผนการจัดโครงการ 2.  เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมโครงการ 3. สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพ           4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมกิจกรรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและตรวจสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในกลุ่มต่างๆดังนี้
            4.1 กลุ่มภาคีเครือข่าย 60 คน เน้นฝึกทฤษฎีและปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ, โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ ,การการควบคุมโรคติดต่อ การช่วยฟื้นคืนชีพ, การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการรายงานสถานการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มภาคีเครือข่ายgเข้าร่วม  ร้อยละ 100

 

60 0

2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ

วันที่ 5 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  ประสานพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน ๒. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ ที่ร่วมในโครงการ วางแผนการจัดโครงการ 2.  เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมโครงการ 3. สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพ           4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน) จำนวน 100 คน เน้น องค์ความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อ สัญญาณเตือนอัมพฤกษ์ อัมพาต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส และการออกกำลังกายรูปแบบวิถีชุมชน จัดตั้งกลุ่มออกกำลังกาย

 

100 0

3. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  ประสานพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน ๒. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ ที่ร่วมในโครงการ วางแผนการจัดโครงการ 2.  เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมโครงการ 3. สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพ           4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมกิจกรรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและตรวจสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มสตรีเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 คน เน้น ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การตรวจคัดกรองปากมดลูก

 

150 0

4. พัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  ประสานพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน ๒. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ ที่ร่วมในโครงการ วางแผนการจัดโครงการ 2.  เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมโครงการ 3. สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพ           4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ส่งเสริมกิจกรรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและตรวจสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มแกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว จำนวน 200 คน

 

200 0

5. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ

วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ โดยมีการบรรยายสถานการณ์ผู้สูงอายุในปัจจุบันพร้อมทำแบบประเมินความเครียดและภาวะซึมเศร้า ,การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจ,รู่ท่าทันโลกห่างไกลสมองเสื่อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 90 คน มีความรู้เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 90

 

90 0

6. จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง

วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  ประสานพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน ๒. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ ที่ร่วมในโครงการ วางแผนการจัดโครงการ 2.  เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมโครงการ 3. สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4 อบรมกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 80 คน เน้น การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การตรวจสุขภาพ ติดตามอาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 80 คน ได้รับการป้องกันภาวะแทรกซ้อน การตรวจสุขภาพ ติดตามอาการ  ร้อยละ 100

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
30.00 30.00 30.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพิ่มขึ้น
40.00 40.00 40.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
30.00 30.00 30.00

 

4 เพื่อให้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ก่อนและหลังการอบรมได้ถูกต้อง ร้อยละ 90 -สามารถฝึกอบรมปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล ร้อยละ 90
40.00 50.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 420 420
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 150 150
กลุ่มผู้สูงอายุ 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์ (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อให้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (2) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มแกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว (3) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป (4) จัดพัฒนาศักยภาพกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว (5) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ (6) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มภาคีเครือข่าย (7) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (8) พัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนนำสาธารณสุขประจำครอบครัว (9) จัดพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ กลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู

รหัสโครงการ 66-L8406-01-01 รหัสสัญญา 10/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทุกกลุ่มวัยรอบรู้ด้านสุขภาลพ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตู จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8406-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา เหมือนพะวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด