กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ ”
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
1. นางสาวขนิษฐา สะอา ครู รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสาวจริญญา ปากบารา ผู้ประสานงานคนที่ 1 3. นางจีราวรรณ ตีกาสม ผู้ประสานงานคนที่ 2 4. นายอับดุลรอศักดิ์ จิเหม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566-L5314-2-04 เลขที่ข้อตกลง 08/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2566-L5314-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราโชวาทในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีเนื่องในพิธีเปิดการประชุมโภชนาการแห่งเอเชีย ครั้งที่ 4 เมื่อวันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน 2526 ความตอนหนึ่งว่า “...แม้ในประเทศไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าว อู่น้ำของเอเชีย ก็ยังมีปัญหาของการขาดอาหาร ปัญหาทางสุขภาพอนามัย การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆที่น่าจะรักษาหรือป้องกันได้ โดยการปฏิบัติให้ถูกต้องในเรื่องอาหารการกิน ความสะอาด สุขลักษณะสิ่งแวดล้อม เหล่านี้เป็นต้น นอกจากนั้น เด็กมีจำนวนไม่น้อยมีสภาพการขาดอาหาร เนื่องจากพ่อแม่ไม่ทราบถึงวิธีการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ปฏิบัติกันไปตามความเคยชิน หรือขนบธรรมเนียมที่ได้รับการสั่งสอนมาชั่วลูกหลานแสดงให้เห็นถึงความไม่เข้าใจว่าอาหารและโภชนาการเป็นรากฐานสำคัญของสุขภาพอนามัยตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา...”(กองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา, 2559)นโยบายด้านการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ สถานศึกษา จะต้องปรับปรุงอาคารสถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก สนามเด็กเล่นให้ได้มาตรฐาน มีความปลอดภัย สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดหาสื่อ อุปกรณ์ ที่มีคุณภาพเหมาะสม มีมาตรฐานและความปลอดภัย การอภิบาลเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาวะที่ดี ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรค ภัย ไข้ เจ็บ (สำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2563) การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลในการขับเคลื่อนมาตรการสู่การปฏิบัติ นโยบายที่ 1 การศึกษาเพื่อความมั่นคง มาตรการที่ 5 ส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้เรียน ส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการพัฒนานักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีตามแนวทางกระทรวงสาธารณสุข (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล, 2563) อีกทั้งจุดมุ่งหมายสูงสุดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เป็นคนดีมีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) จากการผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนตามแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนสำหรับโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ พบว่าผลการประเมินโดยภาพรวมในระดับ ร้อยละ 58.49 อยู่ในระดับปรับปรุง และการประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดี โดยคณะกรรมการประเมินมาตรฐานการพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดี พบว่า ผลการประเมินโดยภาพรวมในระดับร้อยละ 41 อยู่ในระดับปรับปรุง (โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้, 2565)
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ จึงจัดทำโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้เพื่อส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ รวมทั้งพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน
  2. ส่งเสริมสุขภาพ
  3. รายงานผลโครงการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ทุกคนได้รับการส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
  2. เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ มีความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของเด็ก และทันตสุขภาพ
  3. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงละไน้สามารถปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
  4. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงละไน้มีสุขภาพ สมบูรณ์ แข็งแรงตามเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน (2) ส่งเสริมสุขภาพ (3) รายงานผลโครงการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านตันหยงละไน้ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566-L5314-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นางสาวขนิษฐา สะอา ครู รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสาวจริญญา ปากบารา ผู้ประสานงานคนที่ 1 3. นางจีราวรรณ ตีกาสม ผู้ประสานงานคนที่ 2 4. นายอับดุลรอศักดิ์ จิเหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด