กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายประนมพร จุลลา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2535-01-14 เลขที่ข้อตกลง 13/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2535-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,610.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพประชาชนส่วนใหญ่ในอดีตจะเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ปัจจุบัน ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อได้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นสังคมแห่งการแข่งขัน ซึ่งมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพเป็นอย่างมาก ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่มีผลมาจากสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมของตัวเองได้แก่ การดื่มสุรา,การใช้สารเสพติด เพื่อลดความเครียดและวิตกกังวล การมีพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม และขาดการออกกำลังกาย จึงก่อทำให้เกิดโรคแทรกช้อน เช่น ทาง ตา ไต และ เท้า บางคนร่างกายพิการหรือบางรายถึงกับเสียชีวิต ปี ๒๕๖5 อำเภอสุไหงโก-ลก มีประชากรทั้งหมด 55, 684 คน มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 2,628 คน อัตราป่วย ๓,๕๘๖.๖๐ ต่อแสนประชากร มีผู้ป่วยโรคความคันโลหิตสูง 6,441 คน คิดเป็นอัตราป่วย ๘,๔๓0.๓ ต่อแสนประชากร และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ปี ๒๕๖5 มีประชากรในเขตรับผิดขอบทั้งหมด 10,702 คน มีผู้ป่วยเบาหวาน 429 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๔๕.๙๑ ต่อแสนประชากร และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 879 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๙๔.๐๗ต่อแสนประซากร จากข้อมูลตังกล่าวทำให้ทราบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบ มีแนวโน้มจะป่วยสูงขึ้นกว่าเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข(เกณฑ์๒๓ ต่อประชากรแสนคน)จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ตำบลปาเสมัส ต้องเร่งรัดดำเนินการ และส่งเสริมให้ประชาชน สนใจในการดูแลสุขภาพของตัวเองและลดปัจจัยเสี่ยง อาหารรส หวาน มัน เค็ม ที่มีผลต่อสุขภาพตัวเอง โดยส่งเสริมกิจกรรม ๓ อ. ๒ ส. 1 ฟ.และ 1 น. เพิ่มกินผักผลไม้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเสมัสจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ เพื่อเป็นการดำเนินงานตามนโยบายให้ต่อเนื่อง และให้ผู้ป่วยสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง เป็นการลดอัตราป่วยและเสียชีวิตจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน อันจะส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีสุขภาพดี ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมได้ดีมีค่า HBA๑C ≤ ๗ และในโรคความดันโลหิตสูงสามรถควบคุมความดันโลหิตได้ไม่เกิน 140/90 mmHg

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 4 รุ่นๆละ 1 วัน
  2. การตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหลังเข้าโครงการมีสุขภาพดีขึ้นสามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

๔.๑.ขั้นเตรียมการ           ๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส เพื่อมอบหมายงานรับผิดชอบ           ๒. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ
    ๔.๒. ดำเนินงานตามโครงการ           ๑. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ก่อนเริ่มโครงการวัดระดับน้ำตาลปลายนิ้ว           ๒. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ ๒ ส ๑ ฟ และ ๑ น.           ๓. จัดอบรมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโครงการฯเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและบ้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย             - ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง           - ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม           - วิธีสังเกตอาการและอาการผิดปกติจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง           - วิธีสังเกตปริมาณน้ำตาลและเกลือในอาหารสำเร็จรูป/อาหารแปรรูป
          - อาหารแลกเปลี่ยนในหมวดหมู่เดียวกัน           - การปฏิบัติตัวเพื่อลดการบริโภคอาหารหวาน มันและเค็มในอาหาร           - การออกกำลังกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง       ๔. หลังเสร็จสิ้นการอบรม เปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับ  จากนั้นจึงเน้นถึงอาหารที่ควรงด/ลดการบริโภค       ๕. ติดตามผลและประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มผู้ป่วยในชุมชน       ๖. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  หลังเข้าโครงการมีสุขภาพดีขึ้น  สามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 4 รุ่นๆละ 1 วัน

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

๔.๑.ขั้นเตรียมการ           ๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส เพื่อมอบหมายงานรับผิดชอบ           ๒. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ
    ๔.๒. ดำเนินงานตามโครงการ           ๑. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ก่อนเริ่มโครงการวัดระดับน้ำตาลปลายนิ้ว           ๒. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ ๒ ส ๑ ฟ และ ๑ น.           ๓. จัดอบรมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโครงการฯเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและบ้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย             - ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง           - ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม           - วิธีสังเกตอาการและอาการผิดปกติจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง           - วิธีสังเกตปริมาณน้ำตาลและเกลือในอาหารสำเร็จรูป/อาหารแปรรูป
          - อาหารแลกเปลี่ยนในหมวดหมู่เดียวกัน           - การปฏิบัติตัวเพื่อลดการบริโภคอาหารหวาน มันและเค็มในอาหาร           - การออกกำลังกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง       ๔. หลังเสร็จสิ้นการอบรม เปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับ  จากนั้นจึงเน้นถึงอาหารที่ควรงด/ลดการบริโภค       ๕. ติดตามผลและประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มผู้ป่วยในชุมชน       ๖. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  หลังเข้าโครงการมีสุขภาพดีขึ้น  สามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมได้ดีมีค่า HBA๑C ≤ ๗ และในโรคความดันโลหิตสูงสามรถควบคุมความดันโลหิตได้ไม่เกิน 140/90 mmHg
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมได้ดีมีค่า HBA๑C ≤ ๗ และในโรคความดันโลหิตสูงสามรถควบคุมความดันโลหิตได้ไม่เกิน 140/90 mmHg

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 4 รุ่นๆละ 1 วัน (2) การตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2535-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประนมพร จุลลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด