กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการหนูจ๋า รู้ไว้ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และตะโกน โยน ยื่น แล้วจะปลอดภัยจากการจมน้ำ ”



หัวหน้าโครงการ
นายหามะ ยูนุ๊

ชื่อโครงการ โครงการหนูจ๋า รู้ไว้ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และตะโกน โยน ยื่น แล้วจะปลอดภัยจากการจมน้ำ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 23

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูจ๋า รู้ไว้ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และตะโกน โยน ยื่น แล้วจะปลอดภัยจากการจมน้ำ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูจ๋า รู้ไว้ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และตะโกน โยน ยื่น แล้วจะปลอดภัยจากการจมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูจ๋า รู้ไว้ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และตะโกน โยน ยื่น แล้วจะปลอดภัยจากการจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รายงานทางวิชาการ พบว่า กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า5 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ มักเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำ เพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก และการที่ผู้ปกครองผู้ดูแลเด็กและเด็กไม่มีความรู้ในการกู้ชีพ/ ปฐมพยาบาลผิดวิธี เป็นต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้สอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง หมายถึง สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” และการตะโกนขอความช่วยเหลือ และผู้ปกครองถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก ต้องมีความรู้ ในการสอนบุตรหลาน ให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง และหากเด็กจมน้ำต้องมีความรู้ความเข้าใจในการกู้ชีพ / ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี
ผู้จัดโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการให้ความรู้ต่อเด็ก ซึ่งมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างเป็นองค์รวมของเด็ก จึงร่วมจัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัยได้
  2. เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัย
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา เข้าใจการปฐมพยาบาลช่วยเด็กจมน้ำเบื้องต้นและสามารถลงมือปฏิบัติได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา
  2. การเรียนรู้นอกห้องเรียน (กิจกรรมสำหรับเด็ก)
  3. การจัดกิจกรรมในห้องเรียนผ่านการเรียนรู้ 6 กิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 176
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กมีความพร้อมทั้ง 4 ด้านและได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ และกล้ามเนื้อมัดเล็ก ร่าเริง แจ่มใส อยู่
    ร่วมกับผู้อื่นและคิดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้
  2. เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัยได้
  3. เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัยได้
  4. ผู้ปกครองและบุคลากรรู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้
  5. ผู้ปกครองและบุคลากรเข้าใจการปฐมพยาบาลช่วยเด็กจมน้ำเบื้องต้น และสามารถลงมือปฏิบัติได้ 6.เด็กมีร่างกายที่คล่องแคล่วสามารถทำกิจกรรม และทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา

วันที่ 14 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่อาสาสมัครชำนาญการให้ความรู้ดังนี้   1. ให้ความรู้เรื่องวิธีป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก
  2. ให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลช่วยเด็กจมน้ำเบื้องต้นและลงมือปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ปกครองและบุคลากรรู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้
  2. ผู้ปกครองและบุคลากรเข้าใจการปฐมพยาบาลช่วยเด็กจมน้ำเบื้องต้น และสามารถลงมือปฏิบัติได้

 

0 0

2. การเรียนรู้นอกห้องเรียน (กิจกรรมสำหรับเด็ก)

วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเรียนรู้นอกห้องเรียน (กิจกรรมสำหรับเด็ก) - เจ้าหน้าที่อาสาสมัครชำนาญการให้ความรู้พร้อมสาธิตดังนี้     1. ให้ความรู้เรื่องวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัย     2. ให้ความรู้เรื่องวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัย     3. เจ้าหน้าที่สาธิตและเด็กๆลงมือปฏิบัติวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำตามวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัยได้
  2. เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัยได้

 

0 0

3. การจัดกิจกรรมในห้องเรียนผ่านการเรียนรู้ 6 กิจกรรม

วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดกิจกรรมในห้องเรียนผ่านการเรียนรู้ 6 กิจกรรม 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (เต้นประกอบเพลง โปเล โปลา) 2. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( ดูวิดีโอภาพพร้อมอธิบายประกอบ ) 3. กิจกรรมสร้างสรรค์ (ประดิษฐ์ เบตหาคู่) 4. กิจกรรมเสรี ( แสดงบทบาทสมมุติ ) 5. กิจกรรมกลางแจ้ง (ปลาเปลี่ยนทิศ) 6.  เกมกาศึกษา (จับคู่ภาพ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กมีความพร้อมทั้ง 4 ด้านและได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ และกล้ามเนื้อมัดเล็ก ร่าเริง แจ่มใส อยู่ร่วมกับผู้อื่นและคิดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้
    2.เด็กมีร่างกายที่คล่องแคล่วสามารถทำกิจกรรม และทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ดี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัยได้
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์ศดม.อัลตักวาร้อยละ 100 รู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัยได้
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์ศดม.อัลตักวาร้อยละ 100 รู้จักวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัยได้
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา ร้อยละ 100 รู้วิธีป้องกันและสามารถป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา เข้าใจการปฐมพยาบาลช่วยเด็กจมน้ำเบื้องต้นและสามารถลงมือปฏิบัติได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวาร้อยละ 100 เข้าใจการปฐมพยาบาลจากการจมน้ำเบื้องต้นและสามารถลงมือปฏิบัติ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 176
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 176
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำตามวัยได้ (2) เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงตามวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายจากการจมน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา เข้าใจการปฐมพยาบาลช่วยเด็กจมน้ำเบื้องต้นและสามารถลงมือปฏิบัติได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์ ศดม.อัลตักวา (2) การเรียนรู้นอกห้องเรียน (กิจกรรมสำหรับเด็ก) (3) การจัดกิจกรรมในห้องเรียนผ่านการเรียนรู้ 6 กิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูจ๋า รู้ไว้ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และตะโกน โยน ยื่น แล้วจะปลอดภัยจากการจมน้ำ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหามะ ยูนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด