กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ


“ โครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัย ”

ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุรีรัตน์ สายวารี

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัย

ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1256 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1256 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด 2 – 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาเด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็น ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่แข็งแรงมักประสบปัญหาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้าหรือหยุดชะงักชั่วคราว อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆซึ่งจากการสำรวจพัฒนาการของเด็กปฐมวัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนพบว่า เด็กนักเรียนบางกลุ่มค่อนข้างจะมีสมาธิสั้น ร่างกายไม่ค่อยแข็งแรง และมีพัฒนาการล้าช้ากว่าอายุ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขากอบ ค่อนข้างขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ ในการนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเล็กตำบลเขากอบ ได้เล็งเห็นและ ให้ความสำคัญในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 2- 6 ปี ให้มีพัฒนาการตามวัย มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
    ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 (แก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2562) หมวด 2 ส่วนที่ 3 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา 67 ภายใต้ข้อบังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (5) จัดการ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและการฝึกอบรม ให้แก่ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็กตามแนวทางที่เสนอแนะจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (9) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่จัดการศึกษา ต้องดำเนินการตามความพร้อมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่สำหรับให้การศึกษาเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย จึงเป็นอีกภารกิจหนึ่งที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับผิดชอบ ร่วมกับผู้ปกครองของผู้เรียน   กองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลเขากอบ มีหน้าที่สนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด จึงได้จัดทำโครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัยขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีวิธีการที่จะส่งเสริม พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ให้มีความพร้อมก่อนไปสู่สังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กปฐมวัย ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
            2. เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา
    2. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจและมีวิธีการที่จะส่งเสริม พัฒนาการขอเด็กปฐมวัย ให้มีความพร้อมก่อนไปสู่สังคม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย 2. เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีวิธีการที่จะส่งเสริม พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ให้มีความพร้อมก่อนไปสู่สังคม
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ - เด็กปฐมวัยร้อยละ 90 ได้รับการกระตุ้นและการฝึก พัฒนาการที่ถูกวิธี - เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน - ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัยร้อยละ 90 มีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างถูกวิธี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย 2.  เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา          3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีวิธีการที่จะส่งเสริม พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ให้มีความพร้อมก่อนไปสู่สังคม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีพัฒนาการสมวัย จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ L1256

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจุรีรัตน์ สายวารี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด