กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ”

ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชำนาญ วาจาสุจริต

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย

ที่อยู่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา แบ่งการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน มีประชากรรวมทั้งหมด 6,210 คน มีผู้สูงอายุ รวม 1,275 คน คิดเป็นร้อยละ 20.53 ของประชากรทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ 60 -69 ปี จำนวน 716 คน คิดเป็นร้อยละ 56.16 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ70 – 79 ปี จำนวน 357 คน คิดเป็นร้อยละ 28.00 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีกลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 80 – 84 ปี จำนวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 8.47 และผู้สูงอายุที่มีอายุ 85 ปีขึ้นไป จำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 7.37 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด และข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลวังใหญ่ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังใหญ่ ในปี 2566 พบว่า มีผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง จำนวน 25 คน ความดันโลหิตสูง 809 ราย เบาหวาน 78 ราย เป็นทั้งความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 310 รายจากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจำนวนผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลวังใหญ่เพิ่มขึ้นทุกปี และเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society)ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ควรพัฒนาสุขภาพในด้านร่างกาย ได้แก่ การให้ความสำคัญกับสุขภาพ การบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ การพักผ่อนให้เพียงพอ การออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง การพัฒนาทางด้านอารมณ์ ได้แก่ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแนวคิดไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย หรือ 4 AMRTได้แก่ 1. Smart Walk ออกกำลังกายสมำ่เสมอเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ไม่หกล้ม โดยผู้สูงอายุออกกำลังอายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ 30 นาที2.) Smart Brain&Emotional ดูแลฝึกทักษะสมอง ส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมในชมชรมผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ รณรงค์ส่งเสริมพฤติการไม่สูบบุหรี่ 3.) Smart Sleep คือ นอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง และ 4.) Smart Eat กินอาหารตามหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ ลดหวาน มัน เค็ม เน้นผัก ผลไม้ เลือกอาหารที่โปรตีนคุณภาพสูง เช่น ปลาทะเล ซึ่งมีโอเมก้า 3 สูง ช่วยบำรุงประสาท สายตา และสมอง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อความสามารถในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ ตลอดจนการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ความรอบรู้สำหรับประชาชนจึงจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุในพื้นที่ให้มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี การจัดกิจกรรมที่เป็นเหมือนสวนสาธารณะทางอารมณ์ที่จะเอาความเหงา ความเศร้า ความทุกข์มาปลดปล่อยและให้ผู้สูงอายุมารับรอยยิ้มจากเพื่อนวัยเดียวกัน ซึ่งบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจ ต้องการความอบอุ่น ต้องการพูดคุย จากเหตุผลและความสำคัญดังกล่าว ชมรมผู้สูงอายุอบต.วังใหญ่ จึงได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  3. เพือลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องสุขภาพและตรวจสุขภาพเบื้องต้น
  2. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ
  3. กิจกรรมการแข่งขันกีฬาสัมพันธ์ผู้สูงอายุวังใหญ่ สุขภาพดี ชีวีมีสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองใช้ชีวิตตามรอยแห่งความพอเพียงมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนและส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดี ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
30.00 60.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
50.00 60.00

 

3 เพือลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
30.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (3) เพือลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องสุขภาพและตรวจสุขภาพเบื้องต้น (2) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ (3) กิจกรรมการแข่งขันกีฬาสัมพันธ์ผู้สูงอายุวังใหญ่ สุขภาพดี ชีวีมีสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัย ชีวีมีสุข ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชำนาญ วาจาสุจริต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด