กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม ฟันสวย ยิ้มใส ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ”
ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายประภาส ขำมาก




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม ฟันสวย ยิ้มใส ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5235-2-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม ฟันสวย ยิ้มใส ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม ฟันสวย ยิ้มใส ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม ฟันสวย ยิ้มใส ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5235-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญของประเทศชาติ ในการที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กทุกคนควรได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัวชุมชนและภาครัฐ เพื่อส่งเสริมให้เด็กๆเหล่านั้นได้รับการศึกษา ที่รัฐจัดให้ได้รับการพัฒนาทั้งในด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะเด็กวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหาร ในปัจจุบันเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ เมื่อเด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุตามมา ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงอนุบาลและประถมเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการดูแลสุขภาพช่องปาก และแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุ และโรคในช่องปากลดน้อยลง
      ปัจจุบันสาเหตุของการเกิดโรคฟันผุในเด็กที่อยู่ในโรงเรียนประถมศึกษา มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายปัจจัย เช่น ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมทำให้เกิดช่องว่างในการเข้าถึงการรับบริการสาธารณสุข ปัจจัยทางด้านชีววิทยา ปัจจัยด้านพฤติกรรม ปัจจัยทางด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากรอยโรคฟันผุสามารถตรวจพบได้ในเด็กเล็กและเด็กที่มีฟันเริ่มขึ้นในช่องปาก ปัจจัยของการเกิดโรคเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดู เช่น อาหารที่เด็กรับประทาน พฤติกรรมการทำความสะอาดช่อง ปัจจัยต่างๆเหล่านั้นเป็นปัจจัยที่มีส่วนทำให้เกิดโรคฟันผุในเด็ก ผลเสียที่เกิดขึ้นเมื่อฟันผุ เด็กจะมีอาการเกิดความเจ็บปวดจากการเคี้ยวอาหาร ไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ และส่งผลต่อการเจริญเติบโตอาจจะทำให้เด็กขาดสารอาหารและส่งผลในเรื่องของพัฒนาการต่างๆด้วย บริเวณใบหน้าและช่องปากตลอดจนการเจริญของกระดูกขากรรไกร เด็กที่มีฟันน้ำนมผุจะมีเชื้อโรคในช่องปากมากและมีโอกาสเสี่ยงที่จะทำให้ฟันแท้ผุ  ปัจจัยของการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมที่ส่งผลเสียในวัยเด็กประถมศึกษา มีหลายประการด้วยกันจากปัจจัยที่นอกเหนือการควบคุม และยังมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโรคฟันผุจะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงที่เด็กในวัยนี้ พบว่าเด็กกลัวการรักษาทางทันตกรรม จนทำให้ฟันผุจนทะลุโพรงประสาทฟันเกิดอาการปวด บวม และทรมานเป็นอย่างมาก เด็กเคี้ยวอาหารไม่ได้ ทานอาหารได้น้อยลงเกิดภาวะขาดสารอาหาร จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็ก ตัวแปรที่สำคัญ ที่ทำให้เด็กเจอปัญหาคือเด็กยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปาก และยังคงมีการเลือกทานขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม ลูกอมอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งตัวแปรเหล่านี้จึงนำมาสู่ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก และเมื่อเด็กมีฟันผุในช่องปากแล้ว โรคฟันผุยังนำไปสู่ปัญหาการติดเชื้อในช่องปาก เด็กที่มีฟันน้ำนมผุรุนแรงและผู้ปกครองไม่เคยพาไปพบทันตบุคลากร เพื่อทำการรักษาจนทำให้ฟันเหลือแต่รากฟัน อยู่ในช่องปากเป็นที่สะสมของเชื้อโรคนำไปสู่โรคที่มีความรุนแรงซับซ้อนมากขึ้น เช่น การอักเสบของลิ้นหัวใจ ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัญหาของฟันน้ำนมผุในเด็กมีความเกี่ยวข้องต่อการเจริญเติบโตของเด็กด้านร่างกายของเด็กอย่างชัดเจน
      ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ในปี 2560 จากการสรุปผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของเด็กประถมศึกษา เด็กในวัยนี้จะเป็นวัยที่ฟันแท้เริ่มขึ้นในช่องปาก บริการที่ต้องการส่วนใหญ่ เป็นบริการเพื่อการป้องกันและควบคุมการเกิดโรคฟันผุ โดยเป็นความต้องการเคลือบหลุมร่องฟันสูงสุด ร้อยละ 78.3 เฉลี่ย 3 ซี่/คน ความต้องการการรักษาด้วยเทคนิคการอุดฟันเพื่อการป้องกันฟันผุ (PRR: Preventive Resin Restoration) รองลงมา คือร้อยละ 38.5 ในขณะที่ความต้องการในกลุ่มบริการเพื่อการรักษา เช่น การอุดฟัน ถอนฟัน จะมีสัดส่วนที่น้อยกว่า โดยความต้องการอุดฟัน 1 ด้าน มีร้อยละ 21.6 มีฟันผุลุกลามจนจำเป็นต้องรักษารากฟันและถอนฟัน ร้อยละ 6.1 และ 6.2 ตามลำดับ (กระทรวงสาธารณสุข, 2555 ) และจากการสำรวจพบว่าเด็กวัยเรียนในตำบลคลองรีทั้ง 4 โรงเรียน ร้อยละ 58.7 สภาวะโรคฟันผุในฟันถาวรพบว่า ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) ร้อยละ 66.7 ความชุกของโรคฟันผุในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 52.0 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 1.4 ซี่/คน เป็นฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 31.5 มีฟันอุดร้อยละ 31.1 และมีการสูญเสียฟัน ร้อยละ 3.0 และจากการสำรวจยังพบว่าความชุกของการเกิดโรคฟันผุสูงสุดในภาคใต้ร้อยละ 44.0 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.1 ซี่/คน และอีกหนึ่งปัญหาคือสภาวะปริทันต์ในเด็กวัยเรียนคือ การมีเหงือกอักเสบและการมีหินน้ำลาย จากการสำรวจพบว่าเด็ก ร้อยละ 66.3 มีเหงือกอักเสบ โดยร้อยละ 34.5 มีเลือดออกและร้อยละ 31.8 ภาคใต้มีเด็กที่มีเหงือกอักเสบมากที่สุดร้อยละ 75.2 โรคฟันผุและเหงือกอักเสบถือว่ายังคงเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข (สำนักงานทันตสาธารณสุข, 2560)
ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็กวัยเรียนให้ความสำคัญในด้านทันตสุขภาพมากยิ่งขึ้นและเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม และเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เด็กวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป เจ้าหน้าที่    ทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองรี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม          “ฟันสวย ยิ้มใส” ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเทอมละ 1 ครั้ง 2. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง 3. เพื่อสอนให้นักเรียนรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก 4. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้เข้าถึงการรับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของเด็กวัยเรียน 2 .นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ แปรงฟันได้ด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
    2. นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    3. นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบสามารถดำเนินการสานต่อกิจกรรมที่มีในโครงการได้
    4. นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบเลือกซื้อ และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
    5. นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบมีฟันผุลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเทอมละ 1 ครั้ง 2. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง 3. เพื่อสอนให้นักเรียนรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก 4. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้เข้าถึงการรับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเทอมละ 1 ครั้ง 2. ร้อยละ 80 นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง 3.ร้อยละ 100 นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน 4. ร้อยละ 90 นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้เข้าถึงการรับ บริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเทอมละ 1 ครั้ง 2. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง 3. เพื่อสอนให้นักเรียนรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก 4. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเขตรับผิดชอบ ได้เข้าถึงการรับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มเด็กประถม ฟันสวย ยิ้มใส ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5235-2-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประภาส ขำมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด