กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ์ ทวีโชติ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-1012 เลขที่ข้อตกลง 016/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-1012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย รวมทั้งเทคโนโลยีได้เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนไปสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน ซึ่งการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็ว เพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ได้เข้ามามีบทบาทกับเด็กวัยเรียนอย่างมาก ทำให้เกิดการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอ้วนในเด็ก ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทย เด็กที่เริ่มอ้วนและมีภาวะอ้วนจะมีผลกระทบต่อพัฒนาการ ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม โดยเด็กอ้วนจะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วน ร้อยละ 25 และวัยรุ่นอ้วนจะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วนสูงถึงร้อยละ 75 นอกจากนั้นเด็กวัยเรียนที่มีภาวะอ้วนมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคร้ายแรงอื่นๆได้มากกว่าปกติ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด ลูกไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ข้ออักเสบ ขาโก่ง รวมทั้งสมาธิสั้น โดยในเด็กอายุ 5-17 ปี พบว่าเด็กอ้วนมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าเด็กปกติ โดยมีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น 2-4.5 เท่า และภาวะไขมันในเลือดสูงเพิ่มขึ้น 3-7 เท่า ส่วนทางด้านจิตใจพบว่าโรคอ้วนทำให้เสียบุคลิกภาพและถูกล้อเลียน จึงทำให้เด็กเกิดปมด้อยและมีความกดดัน เด็กอ้วนบางคนแยกตัวออกจากกลุ่มเพื่อน มีปัญหาในการเข้าสังคม นอกจากนั้นในเด็กที่อ้วนรุนแรงจะมีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ เวลานอนจะกรน และอาจมีการหยุดหายใจในขณะหลับเป็นช่วงๆ ส่งผลให้ร่างกายได้รับออกซิเจนน้อยลงเกิดการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อาการเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า Pickwickian Syndrome ซึ่งบางคนอาจมีอาการทางไตร่วมด้วย ผลเสียจากการเกิดภาวะดังกล่าวทำให้เด็กนอนหลับพักผ่อนได้ไม่เพียงพอและจะนั่งหลับเมื่อนั่งเรียนหนังสือ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำลง นอกจากนั้นยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยเด็กอ้วนที่ป่วยเป็นโรคแทรกซ้อนทำให้ครอบครัวต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น และทำให้รัฐบาลต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคเรื้อรังที่เกิดจากโรคอ้วนหลาย 1000 ล้านบาทต่อปี

จากข้อมูลภาวะ โภชนาการของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี ใน เขตรับผิดชอบ รพ. ศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) พบปัญหาด้านภาวะโภชนาการที่สำคัญคือ มีเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนสูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายของกระทรวงสาธารณะสุขที่ได้กำหนดไว้ว่า ตัวชี้วัดของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 10 แต่ในพื้นที่รับผิดชอบ พบเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนถึงร้อยละ 41.99 ซึ่งเกินกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เป็นชุมชนเมืองมากขึ้น การดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป การเข้าถึงร้านสะดวกซื้อซึ่งมีอยู่ในชุมชนได้ง่ายทำให้เด็กวัยเรียนมีการบริโภคอาหารที่มากเกินไปโดยเฉพาะอาหารที่มีรสหวาน อาหารไขมันสูง ขนมกรุบกรอบ รวมทั้งมีการออกกำลังกายน้อยลง เนื่องจากเด็กใช้เวลาว่างในการเล่นคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต เล่นเกมแทนการออกจากบ้านไปเล่นกีฬาหรือกิจกรรมอื่นๆ จึงทำให้เกิดภาวะไขมันสะสมทำให้เป็นเด็กอ้วนได้ง่าย

รพ. ศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ ซึ่งมี ภารกิจโดยตรงในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ และตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนในเด็กนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566 เพื่อให้เด็กนักเรียนตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพจากโรคอ้วน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง การดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสามารถดูแลสุขภาพตนเองและผู้ใกล้ชิดในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้อยละ 80 ของเด็กอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
  2. ร้อยละ 50 ของเด็กอ้วนที่เข้าร่วมโครงการ มีภาวะโภชนาการดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ และฝึกทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. กิจกรรมที่ 3 สรุปผลการดำเนินโครงการและมอบประกาศนียบัตรนักเรียนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  4. อบรมให้ความรู้ และฝึกทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  5. ติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  6. สรุปผลการดำเนินโครงการและมอบประกาศนียบัตรนักเรียนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 47
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีภาวะโภชนาการดีขึ้น
  2. มีนักเรียนต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ร้อยละ 80 ของเด็กอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
ตัวชี้วัด :

 

2 ร้อยละ 50 ของเด็กอ้วนที่เข้าร่วมโครงการ มีภาวะโภชนาการดีขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 87
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 47
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละ 80 ของเด็กอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) (2) ร้อยละ 50 ของเด็กอ้วนที่เข้าร่วมโครงการ มีภาวะโภชนาการดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ และฝึกทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) กิจกรรมที่ 3 สรุปผลการดำเนินโครงการและมอบประกาศนียบัตรนักเรียนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) อบรมให้ความรู้ และฝึกทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (5) ติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (6) สรุปผลการดำเนินโครงการและมอบประกาศนียบัตรนักเรียนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-1012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ์ ทวีโชติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด