กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นาางสาวอาตีกอห์ มะลอทิม

ชื่อโครงการ พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7012-3-02 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7012-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุ” (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘  โดยพบการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น กล่าวคือ มีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มเป็นร้อยละ ๑๕ ของประชากรทั้งประเทศเมื่อสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา และในปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อยละ ๒๐ ในปีพ.ศ.๒๕๖5 กลายเป็น “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) จาการสำรวจของกรมอนามัย (๒๕๕๖) พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ ๙๕ เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่ง ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังซึ่งจะนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและพึ่งพิง และมีผู้ป่วยนอนติดเตียงร้อยละ ๑ นอกจากนั้นยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระดับสูง แต่ต้องดูแลตนเองหรือไม่มีคนดูแลถึงร้อยละ ๑๓ ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งจะส่งผลกระทบในวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งจะมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคและปัญหาสุขภาพ ได้ถึงร้อยละ ๙๕ ของผู้สูงอายุทั้งหมด ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุข ได้คัดกรองเพื่อจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุตามภาวะพึ่งพิงและประเมินความจำเป็นด้านการสนับสนุนบริการ และจัดบริการด้านสุขภาพและสังคม ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องในระยะยาว กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มศักยภาพนโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรคและความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และวางระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นเรื่องสำคัญ โดยได้มีการลงนามบันทึกความร่วมมือของ 4 หน่วยงาน ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย และ สปสช. เพื่อสนับสนุนให้ อปท. จัดทำโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล(Long Term Care) “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” โดยใช้ท้องถิ่นและชุมชนเป็นฐานในการจัดการดูแล ซึ่ง สปสช. ได้สนับสนุนค่าใช้จ่ายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ่อทอง
ปี พ.ศ 2565 ตำบลบ่อทองมีประชากรทั้งหมด 16,296 คน พบว่ามีผู้สูงอายุจำนวน 1,692 คน คิดเป็นร้อยละ 10.45 ของประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาลตำบลบ่อทอง จากการสำรวจลงเยี่ยมบ้านของทีมสหวิชาชีพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนเรนทร์ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา เพื่อตรวจประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล โดยหน่วยบริการพบผู้ที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า ๑๑ คะแนน (ติดบ้าน ติดเตียง) จำนวน 39 คน แบ่งเป็น
กลุ่มที่ ๑ (เคลื่อนไหวได้บ้างมีปัญหาการกิน/การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสน) จำนวน 31 คน กลุ่มที่ ๒ (เคลื่อนไหวได้บ้างมีภาวะสับสน และอาจมีปัญหาการกิน/การขับถ่าย) จำนวน 3 คน
กลุ่มที่ ๓ (เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน/การขับถ่ายหรือเจ็บป่วยรุนแรง) จำนวน 4 คน
กลุ่มที่ ๔ (เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต) จำนวน 1 คน ผู้มีภาวะพึ่งพิงเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือทั้งด้านบริการสาธารณสุขและด้านสังคม โดยเฉพาะกลุ่มติดเตียง (กลุ่มที่ ๓ และ ๔) ถึงแม้จะมีคนในครอบครัวดูแล แต่ก็เป็นภาระของผู้ดูแลไม่น้อย พบปัญหาการดูแลผู้ป่วย ได้แก่ ผู้ป่วยและผู้ดูแลขาดกำลังใจ มีภาวะเครียด ทำให้เกิดปัญหาในครอบครัวตามมา ทั้งยังส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจในครอบครัว ทำให้มีรายจ่ายทีเพิ่มขึ้น และจากสถิติผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องดูแลแบบประคับประคองในเขตเทศบาลตำบลบ่อทอง พบว่ามีผู้ป่วยระยะสุดท้ายของโรค ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งต้องได้รับการดูแลแบบองค์รวม เพื่อเพิ่มคุณค่า คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลบ่อทอง ได้เห็นถึงความสำคัญและปัญหาของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่และให้ควาสำคัญในการดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล (Long Term Care) จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลบ่อทอง ปี 256

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง ให้มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางเพื่อบริหารจัดการศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  2. เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้องเป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง
  3. เพื่อจัดระบบบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และให้ผู้มีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  4. เพื่อให้อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Giver) มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
  5. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
  6. เพื่อให้บุคลากรผู้รับผิดชอบงาน Long Term Care ในหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับในเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลระยะยาวผู้มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้
  2. มอบวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง
  3. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วย
  4. ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน
  5. อบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีเกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการ คณะทำงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง เกิดการพัฒนาศักยภาพตนเอง มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  2. คณะกรรมการ คณะทำงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทองมีความรู้ความเข้าใจ แนวทางการดำเนินงานโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้องตามหลักเกณฑ์
  3. ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง เกิดระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและผู้มีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  4. ผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถปฏิบัติต่อผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  5. บุคลากรในการดูแลระยะยาวมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแล รักษาเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ สามารถสอนผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึงพิงได้อย่างถูกต้อง
  6. ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง เกิดการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามหลักธรรมาภิบาลมากยิ่งขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีเกี่ยวข้อง

วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีเกี่ยวข้อง
  2. อบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคลากรทีเกี่ยวข้อง และผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถปฏิบัติต่อผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

 

300 0

2. มอบวัสดุอุปกรณ์และจำลองเหตุการณ์

วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มอบวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงได้รับมอบวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ในชีวิตประจำวัน

 

0 0

3. การรับ-ส่งต่อผู้ป่วย

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รับ-ส่งผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน และกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้รถกู้ชีพในการรับ-ส่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถรับ-ส่งผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน และกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้รถกู้ชีพในการรับ-ส่ง

 

0 0

4. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วย

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุติดเตียง และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุติดเตียง และผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง ให้มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางเพื่อบริหารจัดการศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : 80
80.00

 

2 เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้องเป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง
ตัวชี้วัด : 100
100.00

 

3 เพื่อจัดระบบบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และให้ผู้มีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 80
80.00

 

4 เพื่อให้อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Giver) มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 100
100.00

 

5 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 80
80.00

 

6 เพื่อให้บุคลากรผู้รับผิดชอบงาน Long Term Care ในหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับในเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลระยะยาวผู้มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง ให้มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางเพื่อบริหารจัดการศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (2) เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้องเป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ่อทอง (3) เพื่อจัดระบบบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และให้ผู้มีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี (4) เพื่อให้อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Giver) มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ (5) เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน (6) เพื่อให้บุคลากรผู้รับผิดชอบงาน Long Term Care ในหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับในเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลระยะยาวผู้มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ (2) มอบวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง (3) ติดตามเยี่ยมผู้ป่วย (4) ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน (5) อบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีเกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ 66-L7012-3-02 รหัสสัญญา 11/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น

ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้มากขึ้น

มีกิจกรรมต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการบริการอุปกรณ์

มีอุปกรณ์บริการให้ประชาชนในพื้นที่

จัดให้มีอุปกรณ์หลากหลายขึ้น้หมาะกับโรคในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ประชาชนเข้าถึงบริการ

ประชาชนได้รับบริการอย่างทั่วถึง

มีการบริการอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ประชาชนเข้าถึงบริการอุปกรณ์ได้ทุกสิทธิ์

ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์

มีการทำงานบูรณาการทุกภาคส่วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีการดูแลอย่างทั่วถึง

ประชาชนได้รับการดูแลอย่างรวดเร็วทันท่วงที

ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ มีแหล่งเรียนรู้

มีธนาคารบริการอุปกรณ์ทางการแพทย์

มีการเพิ่มอุปกรณ์ให้มากขึ้น และหลากหลายเพื่อรองรับปัญหาสุขภาพที่เกิดกับประชาชนในำื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีความรู้ในการดูแลตนเองมากขึ้น

สามารถดูแลตัวเองได้อย่างถูกต้อง

มีกิจกรรมให้ความรู้ และทบทวนความรู้อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพลานามัยที่แข็งแรงรึ้น

ประชาชนในพื้นที่มีปัญหาสุขภาพน้อยลง

การดูแลอย่างทั่วถึง ทำให้ปาระชาชนมีสุขภาพมราดีขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการออกกกำลังกาย เพื่อดูแลตัวเอง

ประชาชนมีการออกกำลังกายมากขีึ้น

ให้มีกลุ่มการออกกำลังกายในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้

ลดปัญหาจากจากความเครียด

ให้มีการให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถจัดการดูแลตัวเองได้ในทุกด้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ดูแลตนเองและครอบครัวได้

ครอบครัวมีความเข้าใจถึงสุขภาพมากขึ้น

ครอบครัวมีความใกล้ชิด จัดการปัญหาสุขภาพร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

ครอบครัวมีความเข้าใจ มีความรู้ในการดุแลสุขภาพ

ครอบครัวมีความเข้าใจ มีความรู้ในการดุแลสุขภาพที่ถูกต้องขึ้น

ส่งเสริมให้ครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพทุกระดับ

มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องสุขภาพให้ทั่วถึง

เกิดกฎ กติกา ในชุมชนในการดูแลสุขภาพ

เกิดกฎ กติกา ในชุมชนในการดูแลสุขภาพ ให้มีความต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือกัน

ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือกันในทุกกลุ่ม

ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

ทุกคนรับรู้การบริการทางการแพทย์

ทุกคนรับรู้การบริการทางการแพทย์ และสามารถใช้บริการได้

ทุกคนรับรู้การบริการทางการแพทย์ และเข้าใจในการบริหารจัดการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย ใน และหรือนอกชุมชน

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย ใน และหรือนอกชุมชน

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน

การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน มีการประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ

การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน มีการประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมินอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะในการจัดการโครงการ

เกิดทักษะในการจัดการโครงการ โดยมีการใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะในการจัดการโครงการ มีการใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ และการทำแผนปฏิบัติการในการจัดโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง

มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม

ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

เห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ประชาชนในพื้นที่เห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ประชาชนในพื้นที่เห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ประชาชนมีความรู้ และใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ประชาชนมีความรู้ และใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง สามารถดูแลตนเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีความเอื้ออาทรในการจัดการบริการทางการแพทย์

ชุมชนมีความเอื้ออาทรในการจัดการทางการแพทย์อย่างต่อเนื่องต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

ประชาชนมรความรู้ ทำให้มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญาในการจัดการสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

พัฒนาระบบบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) เทศบาลตำบลบ่อทอง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7012-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาางสาวอาตีกอห์ มะลอทิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด