กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายปลอด ทองคง

ชื่อโครงการ แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-2003 เลขที่ข้อตกลง 003/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-2003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลบ้านหน้าและภาคีเครือข่ายประกอบด้วย รพ.ศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลบ้านนา สำนักธรรมนูญตำบลบ้านนา รพ.สต.บ้านลำใน กองทุนกีฬาเพื่อการท่องเที่ยวตำบลบ้านนา ชมรมอาสาฉุกเฉินชุมชนตำบลบ้านนา กองทุนเยียวยาผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสตำบลบ้านนา และศูนย์ผู้สูงอายุและคนพิการตำบลบ้านนา ได้ขับเคลื่อนโครงการนวัตกรรมกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียงมาอย่างต่อเนื่อง จัดทำกิจกรรมกระบวนการต่างๆ ให้ผู้ป่วยเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ทันกับโรคหลอดเลือดสมองที่ถูกต้อง ความรวดเร็วรับการรักษาเมื่อมีอาการสัญญาณเตือนของโรค ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน ความรวดเร็วในการส่งต่อรักษาของหน่วยกู้ชีพเมื่อได้รับแจ้งเหตุว่ามีผู้ป่วยที่บ่งชี้อาการสัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างตัวแทนประกันในการติดตามดูแลเฝ้าระวังผู้ถือกรมธรรม์ประกันฯ (ผู้เข้าร่วมโครงการ) อย่างสม่ำเสมอ การให้สิทธิ์ภายใต้เงื่อนไขการประกันเพื่อสร้างแรงจูงใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันจะทำให้อัตรากลุ่มผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และอัตราการตายของโรคหลอดเลือดสมองลดลง

  กองทุนเยียวยาผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสตำบลบ้านนาได้รับมอบหมายให้ดำเนินงานที่เกี่ยวกับการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ) จึงได้จัดทำแผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดในสมองลดลง
  2. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยาและความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแลเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  4. เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิ์ตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
  5. เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
  6. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  7. เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ / บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ / ผู้เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์
  2. กิจกรรมติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 294
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ) สามารถควบคุมโรคเรื้อรังให้อยู่ในเกณฑ์หรือคงที่หรือมีทิศทางที่ดีขึ้นกว่าเดิมได้ร้อยละ 50 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  2. ผู้ถือกรมธรรม์ / ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดในสมองลดลงหรือไม่มีเลย
  3. พูดถือกรมธรรม์ / ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองลดลงหรือไม่มีเลย
  4. ผู้ถือกรมธรรม์มีดัชนีมวลกายลดลงร้อยละ 10 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  5. ผู้ถือกรมธรรม์มีรอบเอวลดลงร้อยละ 10 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  6. ตัวแทนประกัน (จิตอาสา) มีความรู้ มีทักษะในการติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการได้อย่างถูกต้อง
  7. มีจิตอาสาในการติดตามดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  8. สามารถบันทึกทะเบียนประวัติ / สมุดบันทึกสุขภาพสำหรับผู้ถือกรมธรรม์ได้อย่างครบถ้วน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำข้อมูลตัวแทนประกัน (จิตอาสา) และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่จำเป็นต้องติดตาม (ผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สมัครเข้าร่วมโครงการ)
  2. จัดทำทะเบียนประวัติผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ (ผู้ถือกรมธรรม์) ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  3. ตัวแทนประกันแต่ละหมู่บ้านทำหน้าที่กระตุ้น/ชักจูงและติดตามให้ผู้ถือกรมธรรม์ที่ตนเองรับผิดชอบออกกำลังกายเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน แกว่งแขน แฮโรบิค หรือ อื่นๆเป็นกลุ่ม อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที และเพิ่มเป็นสัปดาห์ละ 5 วันหรือมากกว่า อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป การรับประทานอาหารตามรายการที่กำหนด การงดหรือลดเหล้าและบุหรี่ การกินยาต่อเนื่องตามที่แพทย์สั่ง และการนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอวันละ 6-8 ชั่วโมง
  4. ตัวแทนประกันออกเยี่ยมบ้านทุก 1 เดือน เพื่อติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/บันทึกผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร พฤติกรรมการดื่มการสูบบุหรี่ การกินยา และการนอนหลับพักผ่อน การแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆ
  5. ส่งผลการบันทึก/การติดตามแต่ละเดือนให้แก่กองทุนเยียวยาผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสตำบลบ้านนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทะเบียนตัวแทนประกัน จำนวน 21 คน
2.ทะเบียนประวัติผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 294 คน
3.ตัวแทนประกันติดตามสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ทุกเดือน พร้อมส่งรายงานผล
4.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

 

294 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดในสมองลดลง
ตัวชี้วัด : 60
50.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยาและความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแลเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิ์ตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
ตัวชี้วัด :

 

6 เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด :

 

7 เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ / บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ / ผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 294
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 294
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดในสมองลดลง (2) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยาและความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค (3) เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแลเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ (4) เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิ์ตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ (5) เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้ (6) เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (7) เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ / บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ / ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ (2) กิจกรรมติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-2003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปลอด ทองคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด