กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราโหม


“ โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี ”

ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางแวกรือซง ดาเสะ

ชื่อโครงการ โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3014-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราโหม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3014-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,065.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราโหม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion Prevention & Protection Excellence) ที่พัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ส่วนหนึ่งเพื่อลดอัตราส่วนการตายของมารดาไทย เพราะการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นสภาวะเสี่ยงทางสุขภาพอย่างหนึ่งในประเทศที่กำลังพัฒนาอัตราการตายของมารดาและทารกจะสูงกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว การฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ตามนัด เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อการดูแลและให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์นำไปปฏิบัติในการดูแลครรภ์ให้ถูกต้อง รวมทั้งร่วมจัดการความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์และทารก เพื่อให้การตั้งครรภ์ เป็นไปด้วยดีจนกระทั่งคลอด ทารกมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ พ.ศ ๒๕๖๓-๒๕๖๕ ในห้วงโควิคระบาท พบว่าหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์หลัง 12 สัปดาห์มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากการสร้างกระแสในชุมชนลดลง ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ลดลงตามด้วย จึงทำให้มีผลต่อการฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ และมีภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ขึ้นๆลงๆของทุกปี พร้อมกับให้กำเนิดทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มีผลการดำเนินงานที่ขึ้นๆลงๆ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ที่ต้องดำเนินการแก้ไขและพัฒนาต่อไป รวมทั้งการคลอดที่บ้านหรือ ผดบ.มีแนวโน้มสูงขึ้น ด้วยการด้วยความกลัวที่ต้องอยู่คนเดียวในห้วงโควิคที่ไปคลอด จึงเลือกที่จะคลอดกับ ผดบ.ซึ่งมีญาติใกล้ชิดดูแล และจากการสำรวจ เด็ก 0–5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป พบว่ามีปัญหาด้าย ภาวะโภชนาการของเด็กมีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ปี ๒๕๖๕ มีแนวโนม้ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก  ผลกระทบจากผลข้างเคียงของวัคซีนโควิค ที่ได้รับรู้จากช่องทางต่างๆ ทำให้ผู้ปกครองที่เคยพาบุตรหลานมารับวัคซีน ลดลงและกลัวผลข้างเคียงของวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟังและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง จากรายงานแม้ขนาดของปัญหาลดลง แต่ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยในระดับภาคและระดับประเทศ จึงทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาราโหม เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของเด็กแบบองค์รวมให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน และมีเป้าหมายที่จะให้เด็ก smart kids  จุดเริ่มต้นของความ smart kids คือต้องควบคู่ดูแลตั้งแต่การตั้งครรภ์ ของมารดาและผู้ปกครอง รวมทั้งชุมชน อันจะส่งผลให้เกิดการดูแลระยะยาวที่ต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาราโหม        จึงจัดทำโครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี พ.ศ ๒๕๖๖ โดยการส่งเสริมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ ด้วยวิตามินแสนวิเศษ อบรมหญิงตั้งครรภ์เพื่อค้นหาบุคคลต้นแบบ (smart mom) ส่งเสริมให้เครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ พร้อมให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องรวดเร็วและต่อเนื่อง และเพื่อให้ความรู้เรื่องดังกล่าวแก่ผู้ปกครอง และส่งเสริมพัฒนาเด็กวัย 0-5 ปี ในเรื่องการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าระวังฟัน ภาวะทุพโภชนาการ และวัคซีน เพื่อสร้างเด็กให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมตามวัย เป็นพลเมืองสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี
  2. โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม
      2. เครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ พร้อมให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องรวดเร็วและต่อเนื่อง   3 ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม     และครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน   4.เด็กอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี (2) โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Smart mom To Smart kid ตำบลบาราโหม อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3014-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวกรือซง ดาเสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด