โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”
ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมมารถ จิตรพัมนากุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ที่อยู่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7256-01-.... เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7256-01-.... ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 342,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นการพัฒนาคุณภาพประชากรซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลก่อนตั้งครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจสังคมและจิตวิญญาณตามคำกล่าวที่ว่าลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยอย่างมีคุณภาพซึ่งผลจากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในปีที่ผ่านมาพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจากโรคที่สามารถป้องกันและดูแลได้หากได้รับการดูแลที่เหมาะสมซึ่งหากได้รับคำแนะนำในเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์การได้รับความรู้เรื่องโภชนาการที่เหมาะสมสามารถส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์และยังสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของแม่ตลอดจนความฉลาดทางสติปัญญา ( IQ ) ของเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มลดลงซึ่งปัจจัยที่เกิดจากปัญหาสุขภาพของแม่ได้แก่ภาวะทุพโภชนาการเช่นขาดไอโอดีนภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์หรือปัจจัยอื่น ๆเช่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นภาวการณ์คลอดก่อนกำหนดภาวะโรคต่าง ๆโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครแกนนำสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง ในพื้นที่ในการประสานงานการติดตามการเฝ้าระวังของหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับความปลอดภัย
เทศบาลเมืองควนลังได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็กในปีพ.ศ.2565มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ167คนจากจำนวนที่ตั้งเป้าหมายไว้200คนคิดเป็นร้อยละ83.5ของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานพบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์12สัปดาห์จำนวน53คนคิดเป็นร้อยละ51.45หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์จำนวน90คนคิดเป็นร้อยละ53.89มีภาวะโลหิตจางจำนวน22คนคิดเป็นร้อยละ13.17หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า20ปีจำนวน 31คนคิดเป้นร้อยละ18.56มีภาวะคลอดก่อนกำหนดจำนวน2รายคิดเป็นร้อยละ1.19
ดังนั้นเพื่อให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลเมืองควนลังในการพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องเทศบาลเมืองควนลังจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่รับผิดชอบของการดูแลอย่างมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นและมีการต่อเนื่องในการส่งเสริมสุขภาพจึงได้นำปัญหาจากการดำเนินงานมาพัฒนาและแก้ไขอย่างมีระบบเพื่อลดอันตรายจากการตั้งครรภ์และอัตราการคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์อย่างถูกวิธีการคลอดรวมทั้งส่งเสริมให้อาสาสมัครแกนนำสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานแบบเชิงรุกติดตามเยี่ยมและส่งเสริมการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมทุกระยะของการตั้งครรภ์ส่งเสริมด้านโภชนาการที่เหมาะสมเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะปัญหาที่สามารถป้องกันได้เช่นภาวะคลอดก่อนกำหนดหากผู้ดูแลครอบครัวและหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเข้าใจจะสามารถป้องกันได้ดังนั้นงานส่งเสริมสุขภาพฝ่ายบริการสาธารณสุขจึงได้จัดทำ“โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ปีงบประมาณพ.ศ.25๖6”ขึ้นโดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังเป็นเงิน342,000.-บาท(เงินสามแสนสี่หมื่นสองพันบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถประชาสัมพันธ์และการสร้างกระแสการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ให้กับประชาชนในพื้นที่
2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปดูแลตนเองในการประเมินภาวะแทรกซ้อนตามระยะของการตั้งครรภ์ตลอดจนมีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
3.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมทารกแรกเกิดมีน้ำหนักแรกคลอดมากกว่า2,500กรัม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
50.00
200.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7256-01-....
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมมารถ จิตรพัมนากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”
ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมมารถ จิตรพัมนากุล
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7256-01-.... เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7256-01-.... ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 342,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นการพัฒนาคุณภาพประชากรซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลก่อนตั้งครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจสังคมและจิตวิญญาณตามคำกล่าวที่ว่าลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยอย่างมีคุณภาพซึ่งผลจากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในปีที่ผ่านมาพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจากโรคที่สามารถป้องกันและดูแลได้หากได้รับการดูแลที่เหมาะสมซึ่งหากได้รับคำแนะนำในเรื่องการปฏิบัติตนระหว่างตั้งครรภ์การได้รับความรู้เรื่องโภชนาการที่เหมาะสมสามารถส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์และยังสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของแม่ตลอดจนความฉลาดทางสติปัญญา ( IQ ) ของเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มลดลงซึ่งปัจจัยที่เกิดจากปัญหาสุขภาพของแม่ได้แก่ภาวะทุพโภชนาการเช่นขาดไอโอดีนภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์หรือปัจจัยอื่น ๆเช่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นภาวการณ์คลอดก่อนกำหนดภาวะโรคต่าง ๆโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครแกนนำสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง ในพื้นที่ในการประสานงานการติดตามการเฝ้าระวังของหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับความปลอดภัย เทศบาลเมืองควนลังได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็กในปีพ.ศ.2565มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ167คนจากจำนวนที่ตั้งเป้าหมายไว้200คนคิดเป็นร้อยละ83.5ของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานพบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์12สัปดาห์จำนวน53คนคิดเป็นร้อยละ51.45หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์จำนวน90คนคิดเป็นร้อยละ53.89มีภาวะโลหิตจางจำนวน22คนคิดเป็นร้อยละ13.17หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า20ปีจำนวน 31คนคิดเป้นร้อยละ18.56มีภาวะคลอดก่อนกำหนดจำนวน2รายคิดเป็นร้อยละ1.19 ดังนั้นเพื่อให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลเมืองควนลังในการพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องเทศบาลเมืองควนลังจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่รับผิดชอบของการดูแลอย่างมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นและมีการต่อเนื่องในการส่งเสริมสุขภาพจึงได้นำปัญหาจากการดำเนินงานมาพัฒนาและแก้ไขอย่างมีระบบเพื่อลดอันตรายจากการตั้งครรภ์และอัตราการคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์อย่างถูกวิธีการคลอดรวมทั้งส่งเสริมให้อาสาสมัครแกนนำสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานแบบเชิงรุกติดตามเยี่ยมและส่งเสริมการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมทุกระยะของการตั้งครรภ์ส่งเสริมด้านโภชนาการที่เหมาะสมเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะปัญหาที่สามารถป้องกันได้เช่นภาวะคลอดก่อนกำหนดหากผู้ดูแลครอบครัวและหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเข้าใจจะสามารถป้องกันได้ดังนั้นงานส่งเสริมสุขภาพฝ่ายบริการสาธารณสุขจึงได้จัดทำ“โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ปีงบประมาณพ.ศ.25๖6”ขึ้นโดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังเป็นเงิน342,000.-บาท(เงินสามแสนสี่หมื่นสองพันบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 200 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถประชาสัมพันธ์และการสร้างกระแสการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ให้กับประชาชนในพื้นที่ 2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปดูแลตนเองในการประเมินภาวะแทรกซ้อนตามระยะของการตั้งครรภ์ตลอดจนมีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด 3.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมทารกแรกเกิดมีน้ำหนักแรกคลอดมากกว่า2,500กรัม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น) |
50.00 | 200.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 200 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7256-01-....
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมมารถ จิตรพัมนากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......