กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจำปี 2566 ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1497-02-06 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 10 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจำปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1497-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 10 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมาก อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆในอดีต แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้น เนื่องจาก การแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา แม้ว่าประเทศไทยจะนํากลยุทธ์ DOTS มาใช้ในการดําเนินงานควบคุมวัณโรค แต่อัตราผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อยังอยู่ ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ทําให้ปัญหาวัณโรคทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ขึ้นทะเบียนรายใหม่ ประมาณครึ่งหนึ่งเป็น ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก ที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีแนวโน้มของการดื้อต่อยารักษาวัณโรคเพิ่มสูงขึ้น สําหรับตําบลนาโยงใต้ อําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปี๒๕๖๕ จํานวน ๒ ราย คิดเป็นอัตรา ๔๓.๘๗ ต่อประชากรแสนคน ปัญหาการดําเนินงานที่ผ่านมา นอกเหนือจากผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาพยาบาล เนื่องจากต้องกินยาจํานวนมาก ติดต่อเป็นเวลานาน และได้รับผลกระทบอาการข้างเคียงของยาแล้ว การคัดกรองวัณโรค ในกลุ่มเสี่ยงยังดําเนินการไม่ทั่วถึง การแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน ต้องดําเนินการพัฒนาศักยภาพของผู้เกี่ยวข้อง มีการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อย่างถูกต้อง รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน ดําเนินการเร่งรัดการค้นหาผู้ที่มีอาการ เข้าข่าย เป็นผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ อาทิ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ที่อาศัยร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรค และแรงงานต่างด้าว รวมทั้งมีการดําเนินการส่งต่อเพื่อเข้ารับรักษาโดยเร็ว จากความสําคัญของปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านตําบลนาโยงใต้ จึงได้จัดทําโครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจําปี ๒๕๖๖ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัณโรค
  2. เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ
  3. เพื่อพัฒนาระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกินยา โดยเจ้าหน้าที่หรือพี่เลี้ยง (DOTs)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
  2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเองและรู้จักป้องกันและแก้ไขปัญหาวัณโรคสมารถถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนได้
  2. กลุ่มเสี่ยงวัณโรคได้รับการคัดกรอง
  3. กลุ่มเสี่ยงที่มีอาการสงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อรับการยืนยันการรักษาที่ถูกต้อง
  4. มีการกํากับการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่หรือพี่เลี้ยง(DOTS)
  5. อัตราป่วยความสําเร็จในการรักษาวัณโรค อยู่ในอัตราร้อยละ100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัณโรค
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัณโรคที่ถูกต้อง

 

2 เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 100

 

3 เพื่อพัฒนาระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกินยา โดยเจ้าหน้าที่หรือพี่เลี้ยง (DOTs)
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายที่ขึ้นทะเบียนได้รับการกำกับติดตามการกินยาโดยเจ้าหน้าที่หรือพี่เลี้ยง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัณโรค (2) เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ (3) เพื่อพัฒนาระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกินยา โดยเจ้าหน้าที่หรือพี่เลี้ยง (DOTs)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย (2) คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังวัณโรคเชิงรุก ประจำปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1497-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด