โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
อบต.มาโมง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี
ที่อยู่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2532-2-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2532-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้าง จึงต้องมีการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย เศษอาหารที่เหลือแล้วที่เป็นขยะเปียกได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก สร้างรายได้ให้กับประชาชน ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้างก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิล ให้มากขึ้น และง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเภทนั้น ๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถ แยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็น ประเภทต่าง ๆ แล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล
การคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงาน และลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหา ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการ รีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนต่อไป
งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง จึงได้เห็นความสำคัญดังกล่าวฯ จึงได้จัดทำโครงการโครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อนำร่องในการบริหารจัดการขยะ ให้เป็นประโยชน์ ให้ประชาชนรู้จักการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน และป้องกันแหล่งโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตต่อไป ส่วนของขยะเปียก็ใช้วิธีการขุดหลุมตัดก้นถังขยะแล้วฝังกลบในดินสองในสามส่วนของถังขยะ แล้วทิ้งขยะเปียกเศษอาหารต่างๆ ลงในถังขยะเปียก กวนให้ผสมผสานกันแล้วปิดฝาเมื่อเต็มแล้ว ก็สามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยหมัก และขุดหลุมที่ใหม่ต่อทำวิธีเดียวกันต่อ ก็จะเป็นการกำจัดขยะเปียกลดภาวะโลกร้อน ลดก๊าซเรือนกระจกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก
- 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน
- 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน
- 4. เพื่อลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมที่ 2 สาธิตการฝั่งกลบ ถังขยะเปียก
- กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน
- สามารถส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน
- สามารถลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ
แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4. เพื่อลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน (4) 4. เพื่อลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมที่ 2 สาธิตการฝั่งกลบ ถังขยะเปียก (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2532-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อบต.มาโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
อบต.มาโมง
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2532-2-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2532-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้าง จึงต้องมีการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย เศษอาหารที่เหลือแล้วที่เป็นขยะเปียกได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก สร้างรายได้ให้กับประชาชน ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้างก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิล ให้มากขึ้น และง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเภทนั้น ๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถ แยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็น ประเภทต่าง ๆ แล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล
การคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงาน และลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหา ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการ รีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนต่อไป
งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง จึงได้เห็นความสำคัญดังกล่าวฯ จึงได้จัดทำโครงการโครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อนำร่องในการบริหารจัดการขยะ ให้เป็นประโยชน์ ให้ประชาชนรู้จักการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน และป้องกันแหล่งโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตต่อไป ส่วนของขยะเปียก็ใช้วิธีการขุดหลุมตัดก้นถังขยะแล้วฝังกลบในดินสองในสามส่วนของถังขยะ แล้วทิ้งขยะเปียกเศษอาหารต่างๆ ลงในถังขยะเปียก กวนให้ผสมผสานกันแล้วปิดฝาเมื่อเต็มแล้ว ก็สามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยหมัก และขุดหลุมที่ใหม่ต่อทำวิธีเดียวกันต่อ ก็จะเป็นการกำจัดขยะเปียกลดภาวะโลกร้อน ลดก๊าซเรือนกระจกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก
- 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน
- 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน
- 4. เพื่อลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมที่ 2 สาธิตการฝั่งกลบ ถังขยะเปียก
- กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน
- สามารถส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน
- สามารถลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและผลประโยชน์ของขยะเปียก (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และสามารถจัดการและวิธีการดำเนินการกับขยะเปียกได้ถูกต้องและทำอย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืนทุกครัวเรือน (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนในแต่ละครัวเรือน (4) 4. เพื่อลดปัญหาปริมาณขยะ ลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถ แก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในโลกนี้ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมที่ 2 สาธิตการฝั่งกลบ ถังขยะเปียก (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2532-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อบต.มาโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......