กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เชิงรุก บุกถึงบ้าน ปี 2566 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนิด๊ะห์ ดือเระ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เชิงรุก บุกถึงบ้าน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2502-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 1 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เชิงรุก บุกถึงบ้าน ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เชิงรุก บุกถึงบ้าน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เชิงรุก บุกถึงบ้าน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2502-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 1 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทำให้คนไทยเสียชีวิต สำหรับโรคมะเร็งที่ทำให้สตรีเสียชีวิตมากที่สุด คือ มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยมะเร็งเต้านมพบมากเป็นอันดับหนึ่งและเพิ่มสูงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมะเร็งเต้านมจะไม่แสดงอาการในระยะเริ่มแรก จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะก้อนมะเร็งมีการอักเสบ และลุกลามไปทั่วแล้ว การรักษามักไม่ได้ผล ดังนั้น การป้องกันที่ดีที่สุด คือการค้นหาก้อนมะเร็งให้เร็วที่สุด การตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน สามารถช่วยให้ค้นหามะเร็งเต้านมได้ตั้งแต่ระยะแรก ส่งผลให้ลดอัตราการตายจากมะเร็งเต้านมได้ ในส่วนของมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบได้มากเป็นอันดับสอง หรือประมาณ 80% ของผู้ป่วยและพบมากในประเทศที่กำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยจากข้อมูลของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ชี้ว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบได้มากที่สุดในผู้หญิงไทยเมื่อเทียบกับมะเร็งชนิดอื่น และมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นทุกปี กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญโรคนี้มาโดยตลอด และเร่งดำเนินการให้ผู้หญิง ได้เข้าถึงเทคโนโลยีที่สามารถป้องกันตนเองจากโรคนี้ได้ สำหรับการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก มีวิธีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษา พบว่า การคัดกรองด้วยการทำ Pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูก จากข้อมูลการดำเนินงานตรวจมะเร็งปากมดลูก จะเห็นได้ว่าการตรวจมะเร็งปากมดลูกค่อนข้างยาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาหนั๊วะ เป็นหน่วยงานบริการสุขภาพที่ใกล้ชิดกับประชาชนและได้สอบถามสาเหตุที่ไม่ยอมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เนื่องจาก ความอาย ไม่กล้าเข้ารับการตรวจคัดกรอง      ที่สถานบริการทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในการป้องกัน  มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในหญิง อายุ ๓๐-7๐ ปี
ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในสตรีวัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความผิดปกติตั้งแต่แรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาหนั๊วะ จึงได้จัดทำโครงการพิชิตโรคร้าย มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี ๒๕๖6 ขึ้น    เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้มีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่ถูกต้องและมีการตรวจสม่ำเสมอ            มีความกระตือรือร้นในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ซึ่งเป็นการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก อันจะสามารถช่วยลดปัญหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปลุกกระแสและรณรงค์เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกัน เฝ้าระวังการเกิดโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  2. กลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
  3. กลุ่มเป้าหมายหญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. กลุ่มหญิงอายุ ๓๐-7๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามเกณฑ์กำหนดและได้รับการเฝ้าระวัง ปัจจัยเสี่ยง สามารถรักษาโรคในระยะแรกได้ทันท่วงทีและเป็นการส่งเสริม ดูแลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย
    ๒. ลดอัตราการป่วยและตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพของประชาชน
    ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของกลุ่มหญิงอายุ ๓๐-7๐ ปี
    ๔. กลุ่มหญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อปลุกกระแสและรณรงค์เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกัน เฝ้าระวังการเกิดโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสาร มากกว่า ร้อยละ 70

     

    2 กลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ Pap smear ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 20

     

    3 กลุ่มเป้าหมายหญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัย ร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปลุกกระแสและรณรงค์เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกัน เฝ้าระวังการเกิดโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (2) กลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (3) กลุ่มเป้าหมายหญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เชิงรุก บุกถึงบ้าน ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2502-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิด๊ะห์ ดือเระ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด