กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2566 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมีนี กาบง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2502-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2566 ถึง 3 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2502-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2566 - 3 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยจัดเป็นประเทศที่มีปัญหาเด็กติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เพราะ  พ่อ แม่ขาดความเข้าใจ เลี้ยงลูกด้วยโทรศัพท์มือถือ ให้เล่นเกมเพื่อจะได้อยู่นิ่งๆ และอยู่ในสายตาการปล่อยให้ลูกเล่นมือถือและทิ้งลูกอยู่กับหน้าจอเพียงลำพังนานเกินวันละหลายชั่วโมง อาจส่งผลให้เด็กจดจ่อกับเรื่องราวที่ผ่านตาเร็วเกินไป และไม่ยอมละสายตาเพื่อสนใจกับสิ่งรอบตัวอื่นรอบข้าง ด้วยการเคลื่อนไหวในสื่อต่าง ๆ บนหน้าจอมือถือหรือแท็ปเล็ตที่เปลี่ยนแปลงและมีความรวดเร็ว จะทำให้เกิดปัญหาการใช้สมองในส่วนความทรงจำลดลง และหากปล่อยให้ลูกเล่นเช่นนี้เป็นประจำทุกวันจะสะสมให้เด็กเกิดอาการ “สมาธิสั้น” ได้ จากสถิติเด็กอายุ 6-12 ปี ที่ป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นในประเทศไทยซึ่งจัดเก็บตั้งแต่ปี 2555 พบว่า มีเด็กป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นมากถึง 1 ล้านคน พบในเด็กผู้ชายมากถึงร้อยละ 12 มากกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลกที่พบร้อยละ 10    โดยอาการสมาธิสั้นส่วนใหญ่พบในเด็กอายุก่อน 7 ปี และจะมีอาการต่อเนื่องนานกว่า 6 เดือน
ซึ่งในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1- ป.5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง ในอัตราส่วน 3:1 และหากไม่ได้รับการวินิจฉัย รักษา และปรับพฤติกรรมอย่างถูกต้อง เด็กจะมีโอกาส    ไม่ประสบความสำเร็จในการเรียน เกิดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุมากกว่าเด็กปกติ มีปัญหาการปรับตัวเข้า  กับผู้อื่น ฯลฯ และส่งผลเป็นปัญหาระยะยาว เช่น กลายเป็นคนต่อต้านสังคม มีความเสี่ยงติดยาเสพติด    เกิดภาวะซึมเศร้าและหากไม่ได้รับการรักษาตั้งแต่ต้นจะส่งผลต่อพัฒนาการด้านลบ และติดตัวไปจนถึงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ถึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น      ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ เพื่อให้ความรู้ส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น และส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย เพื่อหลีกเลี่ยงโทษและปัญหาที่เกิดขึ้น  ในอนาคตกับเด็กที่มาจากการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ จนกลายเป็นโรคสมาธิสั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับภัยที่เกิดจากการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน มีสุขภาพจิตเหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสมไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กวัยเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับภัยของการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์
    2. เด็กวัยเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิตให้เหมาะสมตามวัย ไม่เกิดโรคสมาธิสั้น
    3. เด็กวัยเรียนติดเกมติดจอลดลงและใช้สื่อออนไลน์ในทางที่สร้างสรรค์มากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับภัยที่เกิดจากการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ เรื่อง ภัยที่เกิดจากการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ร้อยละของ ปชช. : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน มีสุขภาพจิตเหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีสุขภาพจิตที่ดีเหมาะสมตามวัย ร้อยละของ ปชช. : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม

     

    3 เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสมไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีการลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและไม่ทำให้ตนเองเกิดโรคสมาธิสั้น ร้อยละของ ปชช. : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับภัยที่เกิดจากการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน มีสุขภาพจิตเหมาะสมตามวัย (3) เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสมไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2502-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรุสมีนี กาบง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด