กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง


“ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2561 ”

ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางธัญลักษณ์ คงทิตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2484-1-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2484-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก จากรายงานผลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุนทอง พบว่า มีอัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ เพิ่มขึ้น จากระดับการศึกษา อาชีพและวิถีชีวิตของชุมชนส่วนใหญ่ประชาชนยังให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองน้อย ทำแต่งาน รับประทานอาหารที่หาได้ง่ายในชุมชน อาหารแปรรูปที่สามารถเก็บไว้รับประทานได้หลายวันโดยไม่เน่าเสีย และมีเกือบทุกหลังคาเรือน เช่น บูดู ปลาเค็ม และเนื้อหมัก ซึ่งจะมีรสชาติที่เค็มมาก และยังนิยมบริโภคอาหารที่มีรสหวาน รสมัน และพฤติกรรมการบริโภคน้ำชา กาแฟ เป็นกิจวัตประจำวัน ประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบ และยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมรับประทานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มขึ้นในแต่ละปี แม้ว่าทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะให้ข้อมูล ให้สุขศึกษาที่เกี่ยวกับโรคเหล่านี้มาทุกๆปี แต่ก็ยังมีประชาชนที่ป่วยด้วยโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นในทุกๆปีเช่นเดียวกัน และยังมี กลุ่มผู้ป่วยก็กลายเป็นกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน มีความพิการทางด้านร่างกาย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุนทองได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และได้คิดหาแนวทางแก้ไขและป้องกันภาวะความรุนแรงของโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมตนเองจึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี ๒๕61 นี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. .ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมภาวะสุขภาพให้ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส
  2. 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส
  3. 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานร้อยละ 95 2.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีภาวะสุขภาพดีขึ้น ไม่พบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

วันที่ 23 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

 

50 0

2. 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

 

50 0

3. 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

วันที่ 25 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปจำนวน 436 คนได้รับการคัดกรองจำนวน 532 คน คิดเป็นร้อยละ99.26
  2. ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงจำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนี้ ปกติ จำนวน 39 คน ลดลง จำนวน 34 คน คงที่จำนวน 65คนและเพิ่มขึ้นจำนวน 12 คน
  3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน220 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จำนวน 98 คนคิดเป็นร้อยละ44.55 ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 60 คน ควบคุมระดับนำ้ตาลในเลือดได้จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
532.00

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานจำนวน 532 คน

2 .ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1.ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
150.00

ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100

3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมภาวะสุขภาพให้ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
ตัวชี้วัด : 1.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมภาวะสุขภาพให้ดีขึ้น
98.00

ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมภาวะสุขภาพให้ดีขึ้นจำนวน98คน คิดเป็ํนร้อยละ44.55

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) .ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมภาวะสุขภาพให้ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส (2) 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส (3) 1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานแก่ประชาชน 35 ปีขึ้นไป และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2484-1-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัญลักษณ์ คงทิตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด