กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
การจัดทำขยะอินทรีย์ให้ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณและการดำเนินการ   2. ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ   3. ประสานงานกับบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   4. ตรวจสอบ/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย   5. จัดเตรียมหลักสูตร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ฯลฯ ที่ใช้ในการอบรม
  6. การจัดทำถังขยะอินทรีย์ให้ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย และรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
    1. ส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือนจากต้นทางลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
    2. ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่น ๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่เกิดจากถังขยะเปียก เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    3. ลดค่าเก็บขนขยะ และค่ากำจัดขยะมูลฝอย
    4. มีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือน
อบรมให้ความรู้เรืองการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณและการดำเนินการ   2. ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ   3. ประสานงานกับบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   4. ตรวจสอบ/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย   5. จัดเตรียมหลักสูตร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ฯลฯ ที่ใช้ในการอบรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย และรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
    1. ส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือนจากต้นทางลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
    2. ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่น ๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่เกิดจากถังขยะเปียก เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    3. ลดค่าเก็บขนขยะ และค่ากำจัดขยะมูลฝอย
    4. มีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือน